ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
-
-
1. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุในการสาธิตและการประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 50,000 บาท และดำเนินการประชาสัมพันธ์และสาธิตให้กับ โรงเรียน ตามกิจกรรมที่กำหนด 2. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมสาธิตการทำมูลฝอยอินทรีย์ ให้แก้กลุ่มเป้าหมาย
- ดำเนินกิจกรรมอบรมสาธิต ประชาสัมพันธ์โครงการ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ประจำเดือน ตามแผนที่กำหนด - ดำเนินการตามโครงการ เบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ชักลากฯ ประจำเดือน มิถุนายน 2566 เป็นเงิน 33,750.- บาท - เบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่อาสาสมัครชักลากมุลฝอยในชุมชน เดือนกรกฎาคม 2566 เป็นเงิน 33750 บาท - เบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่อาสาสมัครชักลากมุลฝอยในชุมชน เดือนสิงหาคม 2566 เป็นเงิน 33750 บาท และเบิกเป็นค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่อาสาสมัครชักลากมุลฝอยในชุมชน เดือนกันยายน 2566 เป็นเงิน 33750 บาท
1. การดำเนินการลดและคัดแยกขยะ หมายถึง การรณรงค์สร้างความร่วมมือในกลุ่มเป้าหมายโดยการนำแนวคิดการแยกขยะด้วยการส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กร เพื่อให้เกิดกระบวนการลดและคัดแยกขยะนำมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2. ประเภทแหล่งกำเนิดแบ่งเป็น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) สถานศึกษา (2) อาคาร (3) ชุมชน (4) งานกิจกรรม/เทศกาล (5) ตลาด (6) ศาสนสถาน และ (7) อื่นๆ สำนักงานเขต 1. ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งด้วยการส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กรร่วมกันลดการเกิดขยะ ดังนี้ 1) ส่งเสริมการลด ละ เลิก การใช้พลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง Reduce (ใช้น้อย) 2) ส่งเสริมการใช้ภาชนะที่ใช้ซ้ำได้ การบริโภคสินค้าคืนขวดหรือบรรจุภัณฑ์ Reuse (ใช้ซ้ำ) 3) คัดแยกขยะก่อนทิ้งเป็น 4 ประเภท แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 แยกแล้วนำไปใช้ประโยชน์เอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) วัสดุรีไซเคิลโดยการขายหรือบริจาค (2) ขยะเศษอาหารนำมาทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ และแยกน้ำมันพืชใช้แล้วขาย ส่วนที่ 2 แยกเพื่อส่งกำจัด 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอันตราย ขยะเศษอาหาร ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่
นับจำนวนองค์กรหรือชุมชนที่ร่วมดำเนินการลดและคัดแยกขยะตาม 6 กลุ่มประเภทแหล่งกำเนิด
1. แบบรายงานผลการดำเนินการ 2. สรุปผลการดำเนินการ
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |