รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน : 5039-948

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

0 / 0
2
2.00

0 / 0
3
4.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในการลดอุบัติเหตุตามบัญชีจุดเสี่ยงและแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่สำนักการจราจรและขนส่งได้กำหนด และจัดส่งให้ สจส. และหน่วยงานรอง (ถ้ามี) ภายในระยะเวลาที่ กำหนดก่อนการดำเนินการแก้ไขปัญหา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำคำสั่งคณะทำงานตามบัญชีจุดเสี่ยงและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่สำนักการจราจรและขนส่งได้ กำหนด 2. คณะทำงานออกสำรวจเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำนักการจราจรและขนส่งได้กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

คณะทำงานดำเนินการปรับปรุงทางเท้าโดยการทาสีขาวแดงบริเวณปากซอยทองหล่อ 18 และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณซอยมีสุวรรณ 3 แยก 10 โดยนำกระถางต้นไม้ออกเพื่อมิให้บดบังการมองเห็นของผู้ใช้ถนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

คณะทำงานดำเนินการปรับปรุงทางเท้าโดยการทาสีขาวแดงบริเวณปากซอยทองหล่อ 18 และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณซอยมีสุวรรณ 3 แยก 10 โดยนำกระถางต้นไม้ออกเพื่อมิให้บดบังการมองเห็นของผู้ใช้ถนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 50 เขต 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ตามประเภทของสถานประกอบการอาหารนั้น 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร (Food) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยของอาหาร ได้แก่ (1) อาหารและวัตถุดิบ สุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหารที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร เกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะ อุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) พบการปนเปื้อน ไม่เกินร้อยละ 10 (จำนวนตัวอย่างที่สุ่มตรวจให้เป็นไปตามแนวทางการเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ของแต่ละประเภทสถานประกอบการอาหาร) 2.3 ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler) ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด คูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง