ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
- สำรวจพื้นที่เพื่อทำการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตหลักสี่ - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
- เตรียมพื้นที่เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ และปลูกซ่อมแซมให้สวยงาม - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
- เตรียมพื้นที่เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ และปลูกซ่อมแซมให้สวยงาม - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
- เตรียมพื้นที่เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ และปลูกซ่อมแซมให้สวยงาม ประกอบด้วย 1. ค่าใช้จ่ายบริเวณถนนกำแพงเพชร 6 ตั้งแต่ปากซอยวิภาวดีรังสิต 27 ถึงสถานีตำรวจนครบาลทุ่งสองห้อง งบประมาณ 521,000.-บาท ขนาดพื้นที่ 800 ตร.ม. 2. ค่าใช้จ่ายบริเวณสวนสาธารณะการเคหะท่าทราย งบประมาณ 1,166,000.-บาท ขนาดพื้นที่ 4 ไร่ 3 งาน 34 ตรว. เป้าหมายปี 2564 1 ไร่ 2.87 ตร.ว. ผลการดำเนินการ 4 ไร่ 5 งาน 34 ตร.ว. คิดเป็นร้อยละ 100 - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
– พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรปูแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี
1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะคิดคะแนนประเภทละ100%รวม200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่ายทั้งนี้หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต
เอกสารหลักฐาน: -พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |