ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ผลการดำเนินงาน เดือน ตุลาคม 2564 - ธันวาคม 2564 -จัดทำโครงการและแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย -ตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ -สถานที่จำหน่ายอาหาร/ศูนย์อาหาร จำนวน 45 แห่ง -สถานที่สะสมอาหาร(มินิมาร์ท/ซูเปอร์มาเก็ต) จำนวน 67 แห่ง - ตลาด 7 แห่ง
ผลการดำเนินงานครึ่งปีปงบประมาณ (เดือนตุลาคม - มีนาคม 2565) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 77.16 รายละเอียดดังนี้ -ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 180 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด จำนวน 267 ราย 2.ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 120 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดจำนวน 267 ราย
ผลการดำเนินงานครึ่งปีปงบประมาณ (เดือนตุลาคม - มีนาคม 2565) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 77.16 รายละเอียดดังนี้ 1.ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 180 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด จำนวน 267 ราย 2.ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 120 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดจำนวน 267 ราย
ผลการดำเนินประจำปีงบประมาณ 2565 (เดือนตุลาคม - กันยายน 2565) ดังนี้ 1. ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 222 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด จำนวน 222 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 2.ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 145 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดจำนวน 222 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.32
วัตถุประสงค์ โครงการฯ 1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 4. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เป้าหมาย 1. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20
1. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คำนวณจากจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งหมด หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด คูณ 100 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข คำนวณจากจำนวนสถานประกอบการอาหารที่มีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด คูณ 100
1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่มีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) 5. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BKK Food Safety Application
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๓ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลอาหารมีศักยภาพในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย |