ค่าเป้าหมาย ระดับ : 0
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างเดือน ตุลาคม 2565 - มกราคม 2566 จำนวน 156 แห่ง ดังนี้ 1. มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 50 แห่ง 2. ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 31 แห่ง 3. ร้านอาหาร จำนวน 61 แห่ง 4. ร้านอาหารในโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง 5. ตลาด จำนวน 4 แห่ง
ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างเดือน ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566 จำนวน 187 แห่ง ดังนี้ 1. มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 51 แห่ง 2. ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 31 แห่ง 3. ร้านอาหาร จำนวน 91 แห่ง 4. ร้านอาหารในโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง 5. ตลาด จำนวน 4 แห่ง
ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างเดือน ตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 จำนวน 208 แห่ง ดังนี้ 1. มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 72 แห่ง 2. ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 31 แห่ง 3. ร้านอาหาร จำนวน 91 แห่ง 4. ร้านอาหารในโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง 5. ตลาด จำนวน 4 แห่ง
ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเเพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือน ตุลาคม 2565 - กันยายน 2566 จำนวน 218 แห่ง ดังนี้ 1. มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 50 แห่ง 2. ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 31 แห่ง 3. ตลาด ประเภท1 จำนวน 3 แห่ง 4. ตลาด ประเภท2 จำนวน 2 แห่ง 5. ร้านอาหารพื้นที่ไม่เกิน 200 ตรม. จำนวน 80 แห่ง 6. ร้านอาหารพื้่นที่เกิน 200 ตารางเมตร จำนวน 52 แห่ง
1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 2. มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
จำนวนที่ดำเนินการได้x100/จำนวนเป้าหมายทั้งหมด
รายงานผลการดำเนินงาน
:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
:๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City) |
:๑.๕.๒ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพทุติยภูมิและตติยภูมิ% |
:๑.๕.๒.๑ พัฒนาศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ |