ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 30
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 66.02
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. จัดทำแผนตรวจประเมินด้านสุขลักษณะและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ตามสถานประกอบการอาหารกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท 2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับประเมินผลความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) 3. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.6
1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ตามสถานประกอบการอาหารกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท 2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับประเมินผลความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) และการอบรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (Online) 3. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 158 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 43.1
1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ตามสถานประกอบการอาหารกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท 2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับประเมินผลความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) และการอบรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (Online) 3. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 223 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 61.1
1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ตามสถานประกอบการอาหารกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท 2. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับประเมินผลความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) และการอบรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (Online) 3. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 239 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.02
1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึงร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย 3องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ตามประเภทของสถานประกอบการอาหารนั้น 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร (Food) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยของอาหารได้แก่ (1) อาหารและวัตถุดิบ สุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหารที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร เกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะ อุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) พบการปนเปื้อน ไม่เกินร้อยละ 10 2.3 ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler)ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณ 100หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด