รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

7. ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ 7.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี 7.2 ร้อยละของการบังคับภาษี : 5043-0802

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
67.91
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดทำประกาศแบบรายการที่ดินและสิ่งปลุกสร้าง และรายการห้องชุด ส่งให้ผู้รับประเมิน /อยู่ระหว่างขั้นตอนรับคำร้องขอแก้ไขข้อมูลบัญชีรายการห้องชุด - เดือนตุลาคมถึงปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินการสำรวจ/จัดทำฐานภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และการรับคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการห้องชุดที่ได้ประกาศตามพ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ -จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการและดำเนินการตามแผนตั้งแต่ 1 ต.ค.-……. ธ.ค.62 ดังนี้ 1.สำรวจรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน ……….. ราย 2.สำรวจรายการอาคารชุด จำนวน ……………. ราย 3.ประกาศรายการอาคารชุด (ภ.ด.ส.4) จำนวน …………. ราย 4.ประกาศที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.3) จำนวน ………….. ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ดำเนินการแก้ไขข้อมูลตามคำร้องห้องชุด และบันทึกฐานข้อมูลภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/จัดทำประกาศภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ในส่วนของที่ดินว่างเปล่า ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ (รายเก่า)/การนำข้อมูลโรงเรือนฯ และภาษีบำรุงท้องที่รายเก่า เข้าสู่ระบบภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง - ติดตามตรวจสอบ และออกหนังสือเพื่อให้ชำระภาษี/ตรวจสอบลูกหนี้ค้างชำระ เพื่อออกหนังสือเตือนและเร่งรัดการจัดเก็บภาษี/ออกหนังสือเตือนติดตามเร่งรัดหนี้ค้างชำระ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ประกาศบัญชีรายการห้องชุด จำนวน 10,863 ห้อง ( วันที่ 20 พ.ย. 62 - ประกาศบัญชีรายการข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 16,589 แปลง (วันที่ 25 พ.ค. 63) โดยที่ภาษีที่สามารถแจ้งการประเมินและจัดเก็บได้ ณ ปัจจุบัน ได้แก่ ภาษีโรงเรีอนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย - รวมแจ้งการประเมิน 17,726,673.65 คิดเป็นร้อยละ 67.91 (ของประมาณการปีงบประมาณ 63 : 26,100,000.-) - รวมเป็นเงินรับชำระทั้งสิ้น 1,246,824.44 คิดเป็นร้อยละ 21.14 (ของหนี้ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2562 เท่ากับ 5,894,214.59)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จำนวนรายรายที่แจ้งแบบแจ้งบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง / ห้องชุด = 23,794 ราย, จำนวนรายที่แจ้งประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง / ห้องชุด = 14,946 ราย , จำนวนรายที่ได้รับยกเว้นมูลค่าฐานภาษี = 8,848 ราย - มีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ขยายกำหนดเวลาดำเนินการตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 ประกาศ ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความหมาย: กรุงเทพมหานครสามารถ แจ้งการประเมินภาษีแก่ผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 ทุกราย นิยาม : ผู้ที่ต้องเสียภาษี หมายถึง ผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปีภาษี 2563 ที่ปรากฏจากผลการสำรวจการใช้ประโยชน์ที่ดินของสำนักงานเขต การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย 1. สำนักการคลัง (ความรับผิดชอบ) ตรวจสอบหาผู้ที่ต้องเสียภาษีของทุกสำนักงานเขตจากโครงการสำรวจจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในกรุงเทพมหานคร ความหมาย กรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการตามกระบวนการบังคับภาษีกับลูกหนี้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 ครบถ้วน ตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดทุกราย นิยาม: ลูกหนี้ภาษี หมายถึง ลูกหนี้ที่ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 การบังคับภาษี หมายถึง การดำเนินการตามกระบวนการบังคับภาษีที่กฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกำหนด ตามที่สำนักการคลังเวียนแจ้งโดยครบถ้วน การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย 1 สำนักการคลัง (ความรับผิดชอบ) กองรายได้ตรวจสอบจำนวนรายลูกหนี้ภาษีที่ยังมิได้ดำเนินการบังคับภาษีและลูกหนี้ภาษีที่ได้ดำเนินการตามกระบวนการบังคับภาษีครบถ้วนแล้วของทั้ง 50 สำนักงานเขต และแจ้งข้อมูลแก่สำนักงานเขตกรณีตรวจพบว่าลูกหนี้ภาษีรายใดยังมิได้ดำเนินการบังคับภาษี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

: จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ได้รับการแจ้งประเมินภาษีของ 50 สำนักงานเขต หาร จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีทั้งหมดของ 50 สำนักงานเขต คูณ 100 การให้คะแนน 1. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน 2. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 95 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ได้ 4 คะแนน 3. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 90 แต่ไม่ถึงร้อยละ 95 ได้ 3 คะแนน 4. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 85 แต่ไม่ถึงร้อยละ 90 ได้ 2 คะแนน 5. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ไม่ถึงร้อยละ 85 ได้ 1 คะแนน 2. สำนักงานเขต (ความรับผิดชอบ) 2.1. ตรวจสอบหาผู้ที่ต้องเสียภาษีของสำนักงานเขตจากโครงการสำรวจจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในกรุงเทพมหานคร2.2 แจ้งประเมินภาษีแก่ผู้เสียภาษีของสำนักงานเขต วิธีการคำนวณ : จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ได้รับการแจ้งประเมินภาษีของสำนักงานเขต หาร จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีทั้งหมดของสำนักงานเขต คูณ 100 การให้คะแนน 1. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน 2. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 95 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ได้ 4 คะแนน 3. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 90 แต่ไม่ถึงร้อยละ 95 ได้ 3 คะแนน 4. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 85 แต่ไม่ถึงร้อยละ 90 ได้ 2 คะแนน 5. สามารถแจ้งประเมินภาษีได้ไม่ถึงร้อยละ 85 ได้ 1 คะแนน วิธีการคำนวณ : จำนวนรายของลูกหนี้ภาษีของ 50 สำนักงานเขตที่ดำเนินการบังคับภาษีครบถ้วน หาร จำนวนรายของลูกหนี้ภาษีของ 50 สำนักงานเขต คูณ 100 การให้คะแนน 1. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน 2. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 95 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ได้ 4 คะแนน 3. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 90 แต่ไม่ถึงร้อยละ 95 ได้ 3 คะแนน 4. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 85 แต่ไม่ถึงร้อยละ 90 ได้ 2 คะแนน 5. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ไม่ถึงร้อยละ 85 ได้ 1 คะแนน 2. สำนักงานเขต (ความรับผิดชอบ) 2.1 ฝ่ายรายได้สำนักงานเขตจัดทำบัญชีลูกหนี้ 2.2 ฝ่ายรายได้สำนักงานเขต ดำเนินการบังคับภาษีกับลูกหนี้ภาษีตามที่กฎหมายกำหนดให้ครบถ้วน วิธีการคำนวณ : จำนวนรายของลูกหนี้ภาษีของสำนักงานเขตที่ดำเนินการบังคับภาษีครบถ้วน หาร จำนวนรายของลูกหนี้ของภาษีของสำนักงานเขต คูณ 100 การให้คะแนน 1. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน 2. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 95 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ได้ 4 คะแนน 3. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 90 แต่ไม่ถึงร้อยละ 95 ได้ 3 คะแนน 4. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ตั้งแต่ร้อยละ 85 แต่ไม่ถึงร้อยละ 90 ได้ 2 คะแนน 5. สามารถดำเนินการบังคับภาษีได้ไม่ถึงร้อยละ 85 ได้ 1 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

...

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง