ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 80
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างตรวจสอบการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี
23/01/2566 : เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมได้ ร้อยละ 18.02 23/02/2566 : ดำเนินการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมได้ ร้อยละ 24.05 24/03/2566 : ดำเนินการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมได้ ร้อยละ 31.48
24/04/2566 : ดำเนินการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีได้ร้อยละ 43.30 23/05/2566 : ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณได้ร้อยละ 49 25/06/2566 : ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณได้ร้อยละ 58.17
24/07/2566 : ดำเนินการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีได้ร้อยละ 60 23/08/2566 : ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณได้ร้อยละ 76 25/09/2566 : ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมประจำปีงบประมาณได้ร้อยละ 80
1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเภทงบบุคลากร งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 2. จำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบด าเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565(ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประเภทงบ บุคลากร งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 3. งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 4 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจ าปี ประเภทงบบุคลากร งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบ าเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดำเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงินโครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป
ตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (ที่ สงม.กำหนด) ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม เท่ากับ จำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 หาร งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 คูณ 100
ตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร หากระบบสารสนเทศฯ ขัดข้อง ไม่สามารถเข้าตรวจสอบข้อมูลได้ ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณไว้ที่หน่วยงาน พร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการประเมินผล
:ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและระยะยาว% |
:๗.๔.๑.๑ ความสามารถในการรักษาวินัยทางการเงินการคลัง |