รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5046-0712

ค่าเป้าหมาย แห่ง : 12

ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 29

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(แห่ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
20.00
100
100 / 100
3
26.00
100
100 / 100
4
29.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีและนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียว จำนวน 14 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 246 ไร่ 2 งาน 74 ตรว. -ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีและนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียว จำนวน 6 แห่ง รวมทั้งหมดเป็น 20 แห่ง คิดเป็นพื้นที่รวมทั้งสิ้น 326 ไร่ 1 งาน 1 ตรว. -ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น(สวนหย่อม/สวนสาธารณะ) จำนวน 5 แห่ง พื้นที่ 8 ไร่ 2 งาน -ดำเนินการนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวของสสล.เป็นปัจจุบันเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1 ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น(สวนหย่อม/สวนสาธารณะ) จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1.1 สวนหย่อมตรงข้ามเค.ซี.โฮม 12 ถ.นิมิตใหม่ จำนวน 1 งาน 92 ตร.วา 1.2 สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะวิลโล่ ถ.สุเหร่าคลองหนึ่ง จำนวน 1 งาน 50 ตร.วา 1.3 สวนหย่อมหมู่บ้านพฤกษาทาวน์พรีเว่ ถ.เจริญพัฒนา จำนวน 2 งาน 1.4 สวนหย่อมหมู่บ้านแลนซีโอ ซอยคู้บอน 38 จำนวน 2 ไร่ 3 งาน 50 ตร.วา 2. ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีและนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียว จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นพื้นที่รวมทั้งสิ้น 65 ไร่ 3 งาน 35 ตรว. 3. ดำเนินการนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด รวม 26 แห่ง ลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวของสสล.เป็นปัจจุบันเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น(สวนหย่อม/สวนสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง -ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี จำนวน 3 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดใ้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 10 ประเภท แยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็ฯสวนหย่อม/สวนสาธารณะ ซึ่งสำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสสล.(สวน 7 ประเภท) 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ซึ่งต้องสำรวจเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี(สวน 9 ประเภท)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม สวน7ประเภท ทำได้ตามที่ตกลงกับสสล.ได้คะแนน 100 หลังจากนั้นดูความสมบูรณ์ของข้อมูลจากการนำลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ เช่น ที่ตั้ง รายละเอียด ภาพถ่ายฯลฯ 2.นับจำนวนพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีที่เพิ่มขึ้น

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง