ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 126
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต ได้ จำนวน 1 แห่ง คือ สวนถนนไหล่ทางถนนเลียบคลองสอง(ฝั่งซอยคู่) พื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต ได้ จำนวน 1 แห่ง คือ สวนถนนไหล่ทางถนนเลียบคลองสอง(ฝั่งซอยคี่) พื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต ได้ จำนวน 4 แห่ง คือ (1) สวนหย่อมขนาดเล็กหมู่บ้านกรีนิช ไพร์ม พื้นที่ 3 งาน 24 ตร.วา (2)สวนหย่อมขนาดเล็กวัดโฝวกวงซันฯ ถนนคู้บอน พื้นที่ 1 งาน (3)สวนถนนไหล่ทางถนนคู้บอน (ฝั่งซอยคู่) แขวงบางชัน พื้นที่ 1 ไร่ 1 งาน (4) สวนถนนไหล่ทางถนนคู้บอน (ฝั่งซอยคี่) แขวงบางชัน พื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต(สวน 7 ประเภท)ได้ทั้งสิ้น 6 แห่ง คือ (1)สวนถนนไหล่ทางถนนเลียบคลองสอง(ฝั่งซอยคู่) พื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน,(2)สวนถนนไหล่ทางถนนเลียบคลองสอง(ฝั่งซอยคี่) พื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน (3)สวนหย่อมขนาดเล็กหมู่บ้านกรีนิช ไพร์ม พื้นที่ 3 งาน 24 ตร.วา (4)สวนหย่อมขนาดเล็กวัดโฝวกวงซันฯ ถนนคู้บอน พื้นที่ 1 งาน (5)สวนถนนไหล่ทางถนนคู้บอน (ฝั่งซอยคู่) แขวงบางชัน พื้นที่ 1 ไร่ 1 งาน (6) สวนถนนไหล่ทางถนนคู้บอน (ฝั่งซอยคี่) แขวงบางชัน พื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน
พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว่้ใน "ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร" ประกอบด้วย 10 ประเภท แยกเป็น 2 ประเภท คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต รวม 4 ครั้ง/ปี
1.กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละร้อยละ 100 รวม 200 2.เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1ให้เหลือร้อยละ 100 3.นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน3ส่วน คือ รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง,ที่ตั้ง,ภาพถ่าย 4.หลักจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของสำนักงานเขต
1.สำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เขต 2. จัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 3.นำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครฯให้เป็นปัจจุบัน
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร |