ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 166.29
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี ได้ จำนวน 7 แห่ง ดังนี้ (1)ที่ว่างหลังบิ๊กซีมาเก็ต พื้นที่ 19 ไร่ 2 งาน 14.42 ตร.ว.(2)ที่ว่างหลังสนามฟุตบอลgrand keeper พื้นที่ 8 ไร่ 2 งาน 50.44 ตร.ว.(3)ที่ว่างข้างซอยพระยาสุเรนทร์ 4 พื้นที่ 47 ไร่ 2 งาน 82.13 ตร.ว.(4)ที่ว่างข้างบิ๊กซีมาเก๊ต พื้นที่ 34 ไร่ 1 งาน 44.84 ตร.ว.(5)ที่ว่างข้างหมู่บ้านจามจุรี พื้นที่ 33 ไร่ 2 งาน 2.32 ตร.ว.(6) ที่ว่างข้างหมู่บ้านทัศคาน่า พื้นที่ 43 ไร่ 70.29 ตร.วา (7)ที่ว่างข้างหมู่บ้านพึงใจ พื้นที่8 ไร่ 27.49 ตร.ว.
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว(สวนหย่อม/สวนสาธารณะ ประเภทที่ 7) ได้จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ (1)สวนหย่อมหมู่บ้าน K.RIZ town ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 1 งาน 50 ตร.วา (2)สวนหย่อมหมู่บ้าน K.RIZ town ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 2 งาน
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว(สวนหย่อม/สวนสาธารณะ 7ประเภท) ได้จำนวน 7 แห่ง ดังนี้ (1)สวนหย่อมหมู่บ้านพาทาดกเนีย ถนนปัญญา-รามอินทรา พื้นที่ 1 งาน (2) สวนหย่อมหมู่บ้านเคริชทาวน์ ถนนไทรามัญ พื้นที่ 1 งาน 50 ตร.วา (3)สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะริคโค่เรสซิเด้นซ์ ถนนไทรามัญ พื้นที่ 2 ไร่ 3 งาน 99 ตร.วา (4)สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะริคโค่เรสซิเด้นซ์ ถนนไทรามัญ พื้นที่ 1 งาน 60 ตร.วา (5)สวนหย่อมหมู่บ้านมายโฮม พื้นที่ 3 งาน (6)สวนหย่อมหมู่บ้านฮาบีเทียยาร์ด ถนนปัญญาซาฟารี พื้นที่ 1 ไร่ 50 ตร.วา (7) สวนหย่อมหมู่บ้านประภาทรัพย์ ถนนหทัยราษฎร์ 39 พื้นที่ 1 ไร่
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี(สวน 9 ประเภท) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ (1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ซอยวัดสุขใจ 5 พื้นที่ 4 ไร่ 44 งาน (2)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ซอยวัดสุขใจ 34 พื้นที่ 16 ไร่ 1 งาน (3) ที่ว่างข้างซอยวัดสุขใจ 6 พื้นที่ 7 ไร่ 1 งาน 25 ตร.วา (4) พื้นที่ไม้ยืนต้นลานวัดสุขใจ พื้นที่ 16 ไร่ 1 ตร.วา
พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน "ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร" ประกอบด้วย 10 ประเภท และแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธาณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี * กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขต รวม 4 ครั้ง/ปี (ธค, มีค, มิย, กย) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนกำหนดแทน
1.กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมและพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วน คือ รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง,ที่ตั้ง,ภาพถ่าย 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของสำนักงานเขต
1.สำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ 2.จัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 3.นำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |