รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

1. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 5046-0944

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00
100
100 / 100
2
58.00
95
95 / 100
3
70.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตคลองสามวา โดยฝ่ายปกครองและฝ่ายโยธาได้เข้าประชุมตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ โดยสำนักการระบายน้ำจัดทำหนังสือเชิญประชุม ในวันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2563 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมชั้น 11 ดินแดง กรุงเทพมหานคร และให้ทุกสำนักงานเขตจัดทำแผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองและแบบสรุปผลรวบรวมปัญหาในการดำเนินงานส่งสำนักการระบายน้ำ และฝ่ายปกครองได้จัดส่งแผนคลอง (คลองแสนแสบ และคลองสามวา) เรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ฝ่ายปกครองได้จัดประชุมคณะทำงานจะัดทำแผนและประสานงาน ติดตามผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันจันทร์ที่ 8 มีนาคม 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องโสณมัย 2 สำนักงานเขตคลองสามวา นายศักดา นิติพัฒนะศักดิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตคลองสามวา เป็นประธานการประชุม และคณะทำงานของทุกฝ่ายเข้าร่วมประชุม โดยมีรายละเอียดการนำตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มารายงานผลการดำเนินงาน และตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของพื้นที่ เป้าหมาย ร้อยละ 100 มีแนวทางการดำเนินงาน จำนวน 6 ข้อ และมอบหมายให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินการ และส่งหลักฐานการดำเนินงานให้ฝ่ายปกครองเพื่อรวบรวมเสนอเข้าที่ประชุมคณะทำงานในครั้งต่อไป 2. ฝ่ายโยธาได้ดำเนินการตามโครงการที่กำหนดจำนวน 2 คลอง คือ 1. คลองสามวา 2. คองแสนแสบ และไในวันศุกร์ที่ 19 มีนาคม 2564 นางสาว อัญชนา บุญสุยา ผู้อำนวยการเขตคลองสามวา เป็นประธานเปิดจุดเช็คอิน จำนวน 2 คลอง ดังกล่าว โดยมีผู้บริหารเขต ประธานชุมชน และประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมพิธี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ฝ่ายปกครองได้จัดประชุมคณะทำงานจะัดทำแผนและประสานงาน ติดตามผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันจันทร์ที่ 8 มีนาคม 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องโสณมัย 2 สำนักงานเขตคลองสามวา นายศักดา นิติพัฒนะศักดิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตคลองสามวา เป็นประธานการประชุม และคณะทำงานของทุกฝ่ายเข้าร่วมประชุม โดยมีรายละเอียดการนำตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มารายงานผลการดำเนินงาน และตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของพื้นที่ เป้าหมาย ร้อยละ 100 มีแนวทางการดำเนินงาน จำนวน 6 ข้อ และมอบหมายให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินการ และส่งหลักฐานการดำเนินงานให้ฝ่ายปกครองเพื่อรวบรวมเสนอเข้าที่ประชุมคณะทำงานในครั้งต่อไป 2. ฝ่ายโยธาได้ดำเนินการตามโครงการที่กำหนดจำนวน 2 คลอง คือ 1. คลองสามวา 2. คลองแสนแสบ และในวันศุกร์ที่ 19 มีนาคม 2564 นางสาว อัญชนา บุญสุยา ผู้อำนวยการเขตคลองสามวา เป็นประธานเปิดจุดเช็คอิน จำนวน 2 คลอง ดังกล่าว โดยมีผู้บริหารเขต ประธานชุมชน และประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมพิธี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์คลองตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำไหด้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด ตามเอกสารแนบ 1 การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานประกอบด้วย 1. สำนักการระบายน้ำ 1.1 ดำเนินการจัดประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2563 1.2 ตรวจวัดคุณภาพน้ำในคลองสายหลักตามแผนที่กำหนด คลองละ 2 จุด ทั้งก่อนและหลังดำเนินการกิ้จกรรมด้านการรักษาความสะอาด เพื่่อหาค่าออกซิเจนละลายน้ำ (Dissolved Oxygen : DO) ค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biochemical Oxygen Demand : BOD) และค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (Ammonia Nitrogen : NH3N) 1.3 เก็บขยะในคลองและทางเดินริมคลอง และขัดล้างทำความสะอาดเขื่อนผนังกั้นบริเวณคลองสายหลักของกรุงเทพมหานคร 1.4 ขุดลอก คู คลอง และเปิดทางน้ำไหล หรือดูดตะกอนดินเลน 1.5 ตรวจสอบและซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบตลอดแนวคลองให้อยู่ในสภาพพร้ัอมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น เช่น ราวกันตกริมคลอง สถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ ฯลฯ 2. สำนักสิ่้งแวดล้อม จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามแนวคลอ่ง โดยมีรายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ สร้างความร่มรื่นหรือตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับให้มีความสวยงาม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระดับ 5

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

บันทึกโดยคอมพิวเตอร์

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง