รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

5.2 ความสำคัญในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 5046-2007

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
30.00
80
80 / 100
3
60.00
95
95 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายปกครองได้จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และได้เวียนแจ้งให้ทุกฝ่ายรับทราบ และดำเนินการจัดทำบัญชี Data Catalog และเสนอเรื่องที่จะพิจารณาบริหารจัดการ เรื่อง "การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กก่อนวัยเรียนของเขตคลองสามวา" และเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ได้อัพเดตข้อมุูลในระบบเป็นปัจจุบันแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายปกครองได้ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลตามรายการที่กำหนดที่ฝ่ายที่เกี่ยวข้องส่งรายงานให้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายปกครองได้ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลตามรายการที่กำหนดที่ฝ่ายที่เกี่ยวข้องส่งรายงานให้ และได้ส่งรายงานในขั้นตอนที่ 4 ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายปกครองได้ดำเนินการปรับปรุงข้อมูล ในขั้นตอนที่ 5 เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ข้อมูล หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียมฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การสำรวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ ชุดข้อมูล หมายความว่า การนำข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูล บัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน ฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ความสำเร็จในการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปกิบัติงานตามภารกิจหลัก

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

แบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงาน ปี พ.ศ. 2563 คือความสมบูรณ์ของการนำเข้าข้อมูล และเชื่อมโยงระบบย่อยของหน่วยงาน 1.1 ความครบถ้วนและความถูกต้องในการนำเข้าข้อมูล 1.2 การนำเข้าข้อมูลในระบบภายในกำหนด ส่วนที่ 2 ปรับปรุงฐานข้อมูลเดิม หรือพัฒนาฐานข้อมูลใหม่

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

บันทึกในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตคลองสามวา

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล
:๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ%
:๗.๒.๑.๑ พัฒนาระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าตามแผนพัฒนา

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง