รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม : 5047-0949

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 98.38

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.00
100
100 / 100
2
21.00
0
0 / 0
3
39.00
0
0 / 0
4
98.38
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

30/12/2563 : งบประมาณหลังปรับโอน 5 หมวดรายจ่าย เป็นเงิน 131,225,270.- บาท งบกลางที่ได้รับการจัดสรร เป็นเงิน 1,019,470.- บาท เบิกจ่ายในภาพรวมได้ 3,495,155.71 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

26/03/2564 : งบประมาณหลังปรับโอน 5 หมวดรายจ่าย เป็นเงิน 130,320,200.- บาท งบกลางที่ได้รับการจัดสรร เป็นเงิน 3,186,526.- บาท เบิกจ่ายในภาพรวมได้ 28,675,755.13 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

25/06/2564 : งบประมาณหลังปรับโอน 5 หมวดรายจ่าย เป็นเงิน 130,340,400.- บาท งบกลางที่ได้รับการจัดสรร เป็นเงิน 9,778,876.- บาท เบิกจ่ายในภาพรวมได้ 55,315,995.75 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

28/09/2564 : - งบประมาณหลังปรับโอน 5 หมวดรายจ่าย เป็นเงิน 125,376,162.- บาท คืนเงินเหลือจ่าย เป็นเงิน 31,605,455.24.- บาท - งบกลางที่ได้รับจัดสรร เป็นเงิน 10,539,456.00 .- บาท คืนเงินเหลือจ่าย เป็นเงิน 979,414.97.- บาท **งบประมาณหลังปรับโอน และงบกลางที่ได้รับจัดสรร รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 135,915,618.00 .- บาท คืนเงินเหลือจ่าย เป็นเงิน 32,584,870.21.- บาท คงเหลือ 103,330,747.79 .- บาท เบิกจ่ายในภาพรวม เป็นเงิน 101,660,862.34 บาท **ส่วนที่ยังไม่ได้เบิกจ่าย เป็นเงินกันไว้เบิกเหลือมปี (ค่าจ้างเหมาบริการรายเดือน เช่น ค่าจ้างเหมาเอกชนทำความสะอาด ค่าจ้างเหมาดูแลทรัพย์สิน ค่าจ้างเหมาบริการเป็นรายบุคคล ฯลฯ ที่ครบกำหนดส่งมอบงานภายใน 30 กันยายน 2564 ทำให้ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ทันภายในปีงบประมาณ 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดำเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงินโครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หาร งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 คูณ 100 = ก%

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รายงานการใช้จ่ายเงินแบบ ง.401

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๓ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง