รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค : 5047-2023

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 96

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

0 / 0
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจข้อมูลสถานที่จำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตบางนา 2. จัดทำโครงการและขออนุมัติ 3. จัดทำแผนปฏิบัติงาน และขออนุมัติ 4. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตบางนา จำนวน 308 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตบางนา จำนวน 315 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตบางนา จำนวน 302 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตบางนา จำนวน 305 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

อาหาร หมายถึง อาหารที่วางจำหน่ายในร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่เขตบางนา ได้รับการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนตัวอย่างอาหารที่สุ่มตรวจและไม่มีการปนเปื้อนเชื้อโรค คูณ 100 หาร จำนวนตัวอย่างอาหารที่สุ่มตรวจทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 3. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BKK Food Safety Application

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง