ค่าเป้าหมาย 1.ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการที่ผ : 1
ผลงานที่ทำได้ 1.ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการที่ผ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
สถานประกอบการอาหารทั้งหมด จำนวน 217 แห่ง 1.สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีและมีมาตรการป้องกันโควิด จำนวน 53 แห่ง ร้อยละ 24.42 2.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร จำนวน 344 ตัวอย่าง ดังนี้ - ประเภท สารพิษ (ด้านเคมี จำนวน 292 ตัวอย่าง (ไม่พบการปนเปื้อนของสารพิษ ) - ประเภท จุลินทรีย์ จำนวน 52 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อโรค 3. สถานประกอบการที่มีบริการที่เป็นมติรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 31 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 14.28
สถานประกอบการอาหารทั้งหมด จำนวน 216 แห่ง ยกเลิก 1 แห่ง 1.สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีและมีมาตรการป้องกันโควิด จำนวน 118 แห่ง ร้อยละ 54.12 2.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร จำนวน 534 ตัวอย่าง ดังนี้ - ประเภท สารพิษ (ด้านเคมี จำนวน 444 ตัวอย่าง (พบการปนเปื้อนของสารพิษ จำนวน 2 ตัวอย่าง) - ประเภท จุลินทรีย์ จำนวน 90 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อโรค 3. สถานประกอบการที่มีบริการที่เป็นมติรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 57 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.38
1.1.ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(โควิด 19)ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข 1.2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของสารพิษ 1.3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อโรค
1.ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คำนวณจากจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด คูณ 100 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(โควิด 19)ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข คำนวนจาก จำนวนสถานประกอบการอาหารที่มีมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(โควิด 19)ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด คูณ 100 2.จำนวนตัวอย่างอาหารที่ตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คูณ 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์ 3.จำนวนตัวอย่างอาหารที่ตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คูณ 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์
เครื่องมือในการใช้วัด 1.การรายงานในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BKK Food Safety Application 2.การรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และรายงานผลการดำเนินการจากสำนักงานเขต