รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5050-830

ค่าเป้าหมาย ตร.ม. : 0

ผลงานที่ทำได้ ตร.ม. : 102

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ตร.ม.)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

0 / 0
2
69.44

0 / 0
3
102.00

0 / 0
4
102.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการปรับปรุงพื้นที่ปลูกต้นไม้บริเวณศูนย์การเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา (สวนรักษาสุข)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการปลูกต้นไม้ไปแล้ว 2,125 ต้น จากเป้าหมาย 3,060 ต้น ปลูกต้นไม้ยืนต้น ได้แก่ ต้นตะเคียน ต้นพะยอม ต้นยางนา ต้นทองอุไร ต้นลั่นทม ต้นแก้ว ต้นชะแมปทอง ต้นเฟื้องฟ้า ต้นโมก ต้นชบา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการปลูกต้นไม้ไปแล้ว 3,125 ต้น จากเป้าหมาย 3,060 ต้น ปลูกต้นไม้ยืนต้น ได้แก่ ต้นตะเคียน ต้นพะยอม ต้นยางนา ต้นทองอุไร ต้นลั่นทม ต้นแก้ว ต้นชะแมปทอง ต้นเฟื้องฟ้า ต้นโมก ต้นชบา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการปลูกต้นไม้ไปแล้ว 3,125 ต้น จากเป้าหมาย 3,060 ต้น ปลูกต้นไม้ยืนต้น ได้แก่ ต้นตะเคียน ต้นพะยอม ต้นยางนา ต้นทองอุไร ต้นลั่นทม ต้นแก้ว ต้นชะแมปทอง ต้นเฟื้องฟ้า ต้นโมก ต้นชบา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภท แยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนัก สิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี - กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี(ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย,ก..ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวน ฯ กำหนดแทน รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละประเภท 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวน 1.1 ความหมาย คือ พื้นที่ใด ๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม/สวนสาธารณะ (กำหนดตามนิยาม 7 ประเภท ของสำนักงานสวนสาธารณะ สสล.)มาก่อนซึ่ง สนข./สสณ. สสล.พัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ทั้งนี้อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า/เกาะกลางถนน/ริมทาง/ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/แนวกำแพงอย่างต่อเนื่อง/ผนังตึก/รั้ว/สวนบนอาคารสูง ดาดฟ้าอาคาร(Green Roof) ฯลฯ สวนบนอาคารสูง/ดาดฟ้า และสวนแนวดิ่งตามที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 1.2 การพัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนต้องพัฒนาให้มีพันธุ์ไม้ปกคลุมขนาดตั้งแต่มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ตร.ม. ขึ้นไป โดยเน้นการปลูกไม้ถาวร อาจดำเนินการ ดังต่อไป 1.2.1 ปลูกพันธุ์ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม 1.2.2 จัดทำเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ/สวนหย่อม 1.2.3 จัดทำสวนหย่อมในลักษณะสวนบนอาคารสูง (Green Roof) 1.2.4 จัดทำเป็นสวนตามแนวพื้นดินหรือ พื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่ง 1.2.5 จัดทำเป็นสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ ระดับสูง กลาง ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากับ 4X4 เมตร ให้คิดเฉลี่ย 100 ต้น เป็นพื้นที่ 1 ไร่ 1.2.6 การปลูกไม้ยืนต้นในลักษณะต่อเนื่อง เป็นแนวยาว เช่นปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริมทางเท้า เป็นต้น คิดพื้นที่โดยนำความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของระยะทางที่ปลูก 1.3 การเพิ่มพื้นที่สีเขียวสำนักงานเขตรับผิดชอบและดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 1.3.1 สำนักงานเขตเองดำเนินการในรูปแบบที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณ 1.3.2 สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้าน เอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ให้เป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง 1.3.3 รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯได้มีการดำเนินการจัดทำเป็นพื้นที่สวนตามนิยามของสวนสาธารณะ 7 ประเภทไว้แล้ว 1.4 สำนักงานเขตจัดทำทะเบียนพื้นที่สวนฯ รายงานเข้าสู่ระบบฯ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง