ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ส่วนส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเมือง
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย ซึ่งมีสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งหมด 78 ประเทศ ทั้งนี้ ตามธรรมเนียมปฏิบัติที่ผ่านมา เอกอัครราชทูตต่างประเทศที่เข้ารับตำแหน่งใหม่จะแจ้งความประสงค์ขอเข้าเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในโอกาสเข้ารับตำแหน่งใหม่เพื่อกระชับความสัมพันธ์และแสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศ นอกจากนี้ กรุงเทพมหานครยังได้สถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่เมือง/เมืองฉันมิตรกับ 36 เมืองทั่วโลก ทำให้มีการไปมาหาสู่กันระหว่างผู้บริหารระดับสูงของเมืองอย่างต่อเนื่อง สำนักงานการต่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินการรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าพบผู้บริหารกรุงเทพมหานครและสรุปการหารือพร้อมให้คำแนะนำในการดำเนินการความร่วมมือในอนาคต โดยดำเนินการให้ถูกต้องตามแบบแผนพิธีการทูต ซึ่งรวมถึงการเป็นล่ามแปลภาษาให้กับผู้บริหารขณะเยี่ยมคารวะ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ได้ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานคร หรือผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวน 27 คณะ ประกอบด้วย เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย ผู้ว่าการ/ผู้ว่าราชการเมือง นายกเทศมนตรี ประธานสภาเมือง และผู้แทนเมือง
04160100/04160100
ดำเนินการรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าพบผู้บริหารกรุงเทพมหานครและสรุปการหารือพร้อมให้คำแนะนำในการดำเนินการความร่วมมือในอนาคต โดยดำเนินการให้ถูกต้องตามแบบแผนพิธีการทูต ซึ่งรวมถึงการเป็นล่ามแปลภาษาให้กับผู้บริหารขณะเยี่ยมคารวะ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ได้ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานคร หรือผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวน 27 คณะ ประกอบด้วย เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย ผู้ว่าการ/ผู้ว่าราชการเมือง นายกเทศมนตรี ประธานสภาเมือง และผู้แทนเมือง
ดำเนินการรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าพบผู้บริหารกรุงเทพมหานครและสรุปการหารือพร้อมให้คำแนะนำในการดำเนินการความร่วมมือในอนาคต
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แล้วเสร็จ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 99.00 (2023-09-19)
19/09/2566 : รายงาน Digital Plan ระหว่างวันที่ 19 ส.ค. 66 – 30 ก.ย. 66 (ข้อมูลปัจจุบัน ณ วันที่ 19 ก.ย. 66) งานเยี่ยมคารวะ (คิดเป็นร้อยละ 99) 1. 29 ส.ค. 66 นายเควิน ฉ็อก (H.E. Mr. Kevin Cheok) เอกอัครราชทูตแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ประจำประเทศไทยเข้าเยี่ยมคารวะ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในโอกาสพ้นจากหน้าที่ (เรียบร้อยแล้ว) 2. 11 ก.ย. 66 ผู้แทนมูลนิธิ Open Culture Foundation ไต้หวันเข้าพบรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายศานนท์ หวังสร้างบุญ) เพื่อนำเสนอข้อมูลโครงการ Civic Sense Project วิธีการเชื่อมโยงของอุปกรณ์อัจฉริยะทั้งหมดผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet of Things: IoT) (เรียบร้อยแล้ว) 3. 11 ก.ย. 66 ผู้แทนจากโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งสาธารณรัฐเกาหลี และศูนย์ความร่วมมือด้านการพัฒนานานาชาติเมืองอุลซาน สาธารณรัฐเกาหลี (KOICA UIDCC) เข้าพบผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (เรียบร้อยแล้ว) 4. 15 ก.ย. 66 คณะผู้แทนจังหวัดชุงบุก สาธารณรัฐเกาหลี และผู้แทนศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย (ADPC) และคณะ ขอเข้าพบรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (รองศาสตราจารย์ทวิดา กมลเวชช) เพื่อหารือการบริหารจัดการน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร (เรียบร้อยแล้ว) 5. 21 ก.ย. 66 นายแบ็ก ซอง-ฮยอน (H.E. Mr. Baek Sung-hyun) นายกเทศมนตรีเมืองนนซาน สาธารณรัฐเกาหลี และคณะขอเข้าเยี่ยมคารวะเพื่อหารือเรื่องการจัดงานเทศกาล สตรอเบอรีนานาชาติ ณ กรุงเทพมหานคร (International Strawberry Festival in Bangkok) (อยู่ระหว่างดำเนินการ) 6. 29 ก.ย. 66 สมาชิกสภาบริหารกรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรียเรียนเชิญผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครร่วมวิ่งออกกำลังกายพร้อมกับพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (อยู่ระหว่างการพิจารณของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) 7. ... อุปทูตรักษาราชการสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีประจำประเทศไทยขอนำผู้แทนบริษัทเอกชนเข้าพบผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในวันและเวลาที่เหมาะสม (อยู่ระหว่างการพิจารณของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) *** รวมจำนวน 7 ครั้ง รวมจำนวนทั้งหมด (นับตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2566) 53 ครั้ง ************************************************************
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 99.00 (2023-08-21)
21/08/2566 : 1. 24 ก.ค. 66 คณะผู้แทนเมืองฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เยี่ยมคารวะ 2. 10 ส.ค. 66 ประธาน BCJ และคณะผู้แทนจาก JIBH เข้าพบเพื่อปรึกษาและหารือถึงความร่วมมือในด้านเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดของกรุงเทพมหานคร และอื่น ๆ รวมถึงการจัดสัมมนาร่วมกับกรุงเทพมหานคร 3. 16 ส.ค. 66 เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี หารือข้อราชการถึงความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกาในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างเมืองพี่เมืองน้อง และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านผังเมือง รวมถึงการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย-สหรัฐอเมริกา 4. 17 ส.ค. 66 คณะผู้แทนฝ่ายการส่งเสริมยุทธศาสตร์สตาร์ทอัพ รัฐบาลกรุงโตเกียว เข้าพบเพื่อแนะนำตัวและแลกเปลี่ยนความคิดริเริ่มของทั้งฝ่ายเกี่ยวกับความก้าวหน้าของระบบนิเวศสตาร์ทอัพ พร้อมทั้งหารือถึงความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือในอนาคตและแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างกัน 5. 18 ส.ค. 66 เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเนเธอแลนด์ประจำประเทศไทย และคณะนักวิจัยด้านน้ำ รวมจำนวน 8 คน เข้าพบหารือเพื่อรายงานการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อการพัฒนาเมืองร่วมกับน้ำอย่างยั่งยืน (Hotspots Analysis for Water as Leverage) *** รวมจำนวน 5 ครั้ง รวมจำนวนทั้งหมด (นับตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2566) 46 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 99.00 (2023-07-21)
21/07/2566 : งานเยี่ยมคารวะ ระหว่างวันที่ 28 มิ.ย. 66 – 19 ก.ค. 66 คิดเป็นร้อยละ 99 (ปัจจุบัน ณ วันที่ 21 ก.ค. 66) - 4 ก.ค. 66 คณะผู้แทนเมืองโยโกฮามา จังหวัดคานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น - 6 ก.ค. 66 ผู้ว่าการจังหวัดคยองกี สาธารณรัฐเกาหลี - 7 ก.ค. 66 คณะผู้แทนเมืองซัวเถา มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน - 17 ก.ค. 66 คณะผู้แทนจากจังหวัดฮวาบินห์ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม - 17 ก.ค. 66 คณะผู้แทนจาก SEA CAPE นิวซีแลนด์ - 18 ก.ค. 66 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเทศญี่ปุ่นและคณะสมาชิกสภาเขตเอโดะคาวะ กรุงโตเกียว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2023-06-27)
27/06/2566 : อยู่ในระหว่างการดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 97.00 (2023-05-22)
ข้อมูลปัจจุบัน ณ เดือนพฤษภาคม 2566 1. 4 ตุลาคม 2565 - นายยอน ทัวร์กอร์ด เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำประเทศไทย 2. 4 ตุลาคม 2565 - นายคำพัน อั่นลาวัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประจำประเทศไทย 3. 10 ตุลาคม 2565 - นายโรเบิร์ต การ์เซีย นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองลองบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย 4. 27 ตุลาคม 2565 - นายนิเอดะ เกงคิ สมาชิกสภาจังหวัดฟูกูโอกะและประธานสมาคมสมาพันธ์สภาจังหวัดฟูกูโอกะเพื่อความสัมพันธ์ฉันมิตรไทย-ญี่ปุ่น 5. 14 พฤศจิกายน 2565 - นายฮิโรสุเกะ อิมาซึ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองอาซาฮิกาวะ จังหวัดฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น 6. 21 พฤศจิกายน 2565 - นายหลิง ไห่ ประธานร่วมด้านการตลาดระหว่างประเทศ บริษัทมาสเตอร์การ์ด 7. 24 พฤศจิกายน 2565 - นางอูล์ปาจ์นา ลามา เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐคอซอวอประจำประเทศไทย 8. 24 พฤศจิกายน 2565 - นายยูฮา เนียมี รองอธิบดีกรมอเมริกาและเอเชีย กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐฟินแลนด์ 9. 30 พฤศจิกายน 2565 - นายแพทริค เบิร์น เอกอัครราชทูตไอร์แลนด์ประจำประเทศไทย 10. 9 ธันวาคม 2565 - นายเบเนดิกต์ ชอง รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มูลนิธิเทมาเส็ก 11. 9 ธันวาคม 2565 - นายซุซุกิ คาซุยะ หัวหน้าคณะผู้แทนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น สำนักงานประเทศไทย (JICA Thailand) 12. 13 ธันวาคม 2565 - นายอัตซึชิ ซึนะมิ ประธานมูลนิธิสันติภาพซะซะคะวะ 13. 14 ธันวาคม 2565 - นายยีรี โคซาค รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐเช็ก และนายปาเวล ปิเตล เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเช็กประจำประเทศไทย 14. 19 ธันวาคม 2565 - นายคเณศ ประสาท ธกาล เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลประจำประเทศไทย 15. 19 ธันวาคม 2565 - นายจุน คุโรดะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น ณ กรุงเทพฯ (เจโทร กรุงเทพฯ) 16. 20 ธันวาคม 2565 - นายเปาโล ดีโอนิชี เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิตาลีประจำประเทศไทย 17. 22 ธันวาคม 2565 - นายโรเบิร์ต เอฟ. โกเดค เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย 18. 23 ธันวาคม 2565 - ดร. ณัฏฐฎา ป้านประดิษฐ์ นักวิชาการหลังสำเร็จการศึกษาปริญญาเอก สถาบัน Lutz Lab @ BIOENGINEERING มหาวิทยาลัยวอชิงตัน 19. 16 มกราคม 2566 - นายแพทริก เฮมเมอร์ เอกอัครราชทูตราชรัฐลักเซมเบิร์กประจำประเทศไทย 20. 10 กุมภาพันธ์ 2566 - ศาสตราจารย์เนียล เคิร์กวูด รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะการออกแบบ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 21. 27 กุมภาพันธ์ 2566 - Mr. Clement Hernandez ประธานสมาคม Disciples Escoffier Thailand 22. 27 กุมภาพันธ์ 2566 - นายรัชมัต บูดีมัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินโดนีเซียประจำประเทศไทย 23. 28 กุมภาพันธ์ 2566 - ดร. ชานดอร์ ชีโปช เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฮังการีประจำประเทศไทย 24. 28 กุมภาพันธ์ 2566 - นายนาเกช ซิงห์ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียประจำประเทศไทย 25. 1 มีนาคม 2566 - นางเซรัป เอร์ซอย เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐตุรกีประจำประเทศไทย 26. 2 มีนาคม 2566 - นายเปโดร ซวาห์เลน เอกอัครราชทูตสมาพันธรัฐสวิสประจำประเทศไทย 27. 7 มีนาคม 2566 - นายอิสซา อับดุลเลาะฮ์ ญาบิร อัลอาลาวี เอกอัครราชทูตรัฐสุลต่านโอมานประจำประเทศไทย 28. 16 มีนาคม 2566 - นางอัสตริด เอมีเลีย เฮลเล เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรนอร์เวย์ประจำประเทศไทย 29. 24 มีนาคม 2566 - คณะเจ้าหน้าที่และนักเรียนจากจังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุ่น 30. 28 มีนาคม 2566 - นางสาวเซซิเลีย ซูนิลดา กาลาร์เรตา บาซัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเปรูประจำประเทศไทย 31. 31 มีนาคม 2566 - นายเซอร์เก เชอรามิน รัฐมนตรีกรุงมอสโก ผู้อำนวยการสำนักเศรษฐกิจระหว่างประเทศและการต่างประเทศกรุงมอสโก 32. 18 เมษายน 2566 - นายจุน คุโรดะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น ณ กรุงเทพฯ (เจโทร กรุงเทพฯ) (เข้าพบเพื่อสรุปรายงานผลฯ) 33. 1 พฤษภาคม 2566 - นายกง เจิง รองเลขาธิการคณะกรรมการพรรคคอมมิวนิสต์จีนและนายกเทศมนตรี นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน 34. 10 พฤษภาคม 2566 - นายโอเบด ซาอี๊ด โอเบด บินตาเรช อัล ดาเฮรี่ เอกอัครราชทูตสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ประจำประเทศไทย 35. 19 พฤษภาคม 2566 - นางสาวลี แฮ็ง ซุก รองนายกเทศมนตรีเมืองอินชอน (ฝ่ายวัฒนธรรมและสวัสดิการ) สาธารณรัฐเกาหลี 36. 19 พฤษภาคม 2566 - นายอาดสะพังทอง สีพันดอน เจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-04-20)
ข้อมูลปัจจุบัน ณ เดือนเมษายน 2566 1. 4 ตุลาคม 2565 - นายยอน ทัวร์กอร์ด เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำประเทศไทย 2. 4 ตุลาคม 2565 - นายคำพัน อั่นลาวัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประจำประเทศไทย 3. 10 ตุลาคม 2565 - นายโรเบิร์ต การ์เซีย นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองลองบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย 4. 27 ตุลาคม 2565 - นายนิเอดะ เกงคิ สมาชิกสภาจังหวัดฟูกูโอกะและประธานสมาคมสมาพันธ์สภาจังหวัดฟูกูโอกะเพื่อความสัมพันธ์ฉันมิตรไทย-ญี่ปุ่น 5. 14 พฤศจิกายน 2565 - นายฮิโรสุเกะ อิมาซึ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองอาซาฮิกาวะ จังหวัดฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น 6. 21 พฤศจิกายน 2565 - นายหลิง ไห่ ประธานร่วมด้านการตลาดระหว่างประเทศ บริษัทมาสเตอร์การ์ด 7. 24 พฤศจิกายน 2565 - นางอูล์ปาจ์นา ลามา เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐคอซอวอประจำประเทศไทย 8. 24 พฤศจิกายน 2565 - นายยูฮา เนียมี รองอธิบดีกรมอเมริกาและเอเชีย กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐฟินแลนด์ 9. 30 พฤศจิกายน 2565 - นายแพทริค เบิร์น เอกอัครราชทูตไอร์แลนด์ประจำประเทศไทย 10. 9 ธันวาคม 2565 - นายเบเนดิกต์ ชอง รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มูลนิธิเทมาเส็ก 11. 9 ธันวาคม 2565 - นายซุซุกิ คาซุยะ หัวหน้าคณะผู้แทนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น สำนักงานประเทศไทย (JICA Thailand) 12. 13 ธันวาคม 2565 - นายอัตซึชิ ซึนะมิ ประธานมูลนิธิสันติภาพซะซะคะวะ 13. 14 ธันวาคม 2565 - นายยีรี โคซาค รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐเช็ก และนายปาเวล ปิเตล เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเช็กประจำประเทศไทย 14. 19 ธันวาคม 2565 - นายคเณศ ประสาท ธกาล เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลประจำประเทศไทย 15. 19 ธันวาคม 2565 - นายจุน คุโรดะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น ณ กรุงเทพฯ (เจโทร กรุงเทพฯ) 16. 20 ธันวาคม 2565 - นายเปาโล ดีโอนิชี เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิตาลีประจำประเทศไทย 17. 22 ธันวาคม 2565 - นายโรเบิร์ต เอฟ. โกเดค เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย 18. 23 ธันวาคม 2565 - ดร. ณัฏฐฎา ป้านประดิษฐ์ นักวิชาการหลังสำเร็จการศึกษาปริญญาเอก สถาบัน Lutz Lab @ BIOENGINEERING มหาวิทยาลัยวอชิงตัน 19. 16 มกราคม 2566 - นายแพทริก เฮมเมอร์ เอกอัครราชทูตราชรัฐลักเซมเบิร์กประจำประเทศไทย 20. 10 กุมภาพันธ์ 2566 - ศาสตราจารย์เนียล เคิร์กวูด รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะการออกแบบ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 21. 27 กุมภาพันธ์ 2566 - Mr. Clement Hernandez ประธานสมาคม Disciples Escoffier Thailand 22. 27 กุมภาพันธ์ 2566 - นายรัชมัต บูดีมัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินโดนีเซียประจำประเทศไทย 23. 28 กุมภาพันธ์ 2566 - ดร. ชานดอร์ ชีโปช เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฮังการีประจำประเทศไทย 24. 28 กุมภาพันธ์ 2566 - นายนาเกช ซิงห์ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียประจำประเทศไทย 25. 1 มีนาคม 2566 - นางเซรัป เอร์ซอย เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐตุรกีประจำประเทศไทย 26. 2 มีนาคม 2566 - นายเปโดร ซวาห์เลน เอกอัครราชทูตสมาพันธรัฐสวิสประจำประเทศไทย 27. 7 มีนาคม 2566 - นายอิสซา อับดุลเลาะฮ์ ญาบิร อัลอาลาวี เอกอัครราชทูตรัฐสุลต่านโอมานประจำประเทศไทย 28. 16 มีนาคม 2566 - นางอัสตริด เอมีเลีย เฮลเล เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรนอร์เวย์ประจำประเทศไทย 29. 24 มีนาคม 2566 - คณะเจ้าหน้าที่และนักเรียนจากจังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุ่น 30. 28 มีนาคม 2566 - นางสาวเซซิเลีย ซูนิลดา กาลาร์เรตา บาซัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเปรูประจำประเทศไทย 31. 31 มีนาคม 2566 - นายเซอร์เก เชอรามิน รัฐมนตรีกรุงมอสโก ผู้อำนวยการสำนักเศรษฐกิจระหว่างประเทศและการต่างประเทศกรุงมอสโก 32. 18 เมษายน 2566 - นายจุน คุโรดะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น ณ กรุงเทพฯ (เจโทร กรุงเทพฯ) (เข้าพบเพื่อสรุปรายงานผลฯ)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-03-22)
22/03/2566 : ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 1. 4 ตุลาคม 2565 นายยอน ทัวร์กอร์ด เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำประเทศไทย 2. 4 ตุลาคม 2565 นายคำพัน อั่นลาวัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประจำประเทศไทย 3. 10 ตุลาคม 2565 นายโรเบิร์ต การ์เซีย นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองลองบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย 4. 27 ตุลาคม 2565 นายนิเอดะ เกงคิ สมาชิกสภาจังหวัดฟูกูโอกะและประธานสมาคมสมาพันธ์สภาจังหวัดฟูกูโอกะเพื่อความสัมพันธ์ฉันมิตรไทย-ญี่ปุ่น 5. 14 พฤศจิกายน 2565 นายฮิโรสุเกะ อิมาซึ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองอาซาฮิกาวะ จังหวัดฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น 6. 21 พฤศจิกายน 2565 นายหลิง ไห่ ประธานร่วมด้านการตลาดระหว่างประเทศ บริษัทมาสเตอร์การ์ด 7. 24 พฤศจิกายน 2565 นางอูล์ปาจ์นา ลามา เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐคอซอวอประจำประเทศไทย 8. 24 พฤศจิกายน 2565 นายยูฮา เนียมี รองอธิบดีกรมอเมริกาและเอเชีย กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐฟินแลนด์ 9. 30 พฤศจิกายน 2565 นายแพทริค เบิร์น เอกอัครราชทูตไอร์แลนด์ประจำประเทศไทย 10. 9 ธันวาคม 2565 นายเบเนดิกต์ ชอง รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มูลนิธิเทมาเส็ก 11. 9 ธันวาคม 2565 นายซุซุกิ คาซุยะ หัวหน้าคณะผู้แทนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น สำนักงานประเทศไทย (JICA Thailand) 12. 3 ธันวาคม 2565 นายอัตซึชิ ซึนะมิ ประธานมูลนิธิสันติภาพซะซะคะวะ 13. 14 ธันวาคม 2565 นายยีรี โคซาค รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐเช็ก และนายปาเวล ปิเตล เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเช็กประจำประเทศไทย 14. 19 ธันวาคม 2565 นายคเณศ ประสาท ธกาล เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลประจำประเทศไทย 15. 19 ธันวาคม 2565 นายจุน คุโรดะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น ณ กรุงเทพฯ (เจโทร กรุงเทพฯ) 16. 20 ธันวาคม 2565 นายเปาโล ดีโอนิชี เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิตาลีประจำประเทศไทย 17. 22 ธันวาคม 2565 นายโรเบิร์ต เอฟ.โกเดค เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย 18. 23 ธันวาคม 2565 ดร. ณัฏฐฎา ป้านประดิษฐ์ นักวิชาการหลังสำเร็จการศึกษาปริญญาเอก สถาบัน Lutz Lab @ BIOENGINEERING มหาวิทยาลัยวอชิงตัน 19. 16 มกราคม 2566 นายแพทริก เฮมเมอร์ เอกอัครราชทูตราชรัฐลักเซมเบิร์กประจำประเทศไทย 20. 10 กุมภาพันธ์ 2566 ศาสตราจารย์เนียล เคิร์กวูด รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะการออกแบบ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 21. 27 กุมภาพันธ์ 2566 Mr. Clement Hernandez ประธานสมาคม Disciples Escoffier Thailand 22. 27 กุมภาพันธ์ 2566 นายรัชมัต บูดีมัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินโดนีเซียประจำประเทศไทย 23. 28 กุมภาพันธ์ 2566 ดร. ชานดอร์ ชีโปช เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฮังการีประจำประเทศไทย 24. 28 กุมภาพันธ์ 2566 นายนาเกช ซิงห์ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียประจำประเทศไทย 25. 1 มีนาคม 2566 นางเซรัป เอร์ซอย เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐตุรกีประจำประเทศไทย 26. 2 มีนาคม 2566 นายเปโดร ซวาห์เลน เอกอัครราชทูตสมาพันธรัฐสวิสประจำประเทศไทย 27. 7 มีนาคม 2566 นายอิสซา อับดุลเลาะฮ์ ญาบิร อัลอาลาวี เอกอัครราชทูตรัฐสุลต่านโอมานประจำประเทศไทย 28. 16 มีนาคม 2566 นางอัสตริด เอมีเลีย เฮลเล เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรนอร์เวย์ประจำประเทศไทย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ผลผลิตความสัมพันธ์ระหว่างเมือง
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **