ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 6
คุณอัญจนา พุทธิปิลันธน์ โทร 0-2444-0163 ต่อ 8811
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
โรงพยาบาลราชพิพัฒน์มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล จึงมีการพัฒนาระบบ ความเสี่ยงเพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความเชื่อมั่น ความศรัทธา ความปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการว่าได้รับการรักษาพยาบาลที่ดี มีคุณภาพ มีความปลอดภัย เริ่มตั้งแต่การค้นหาความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยงและการประเมินผล เจ้าหน้าที่ต้องสามารถค้นหาความเสี่ยงได้จากหลายๆแหล่ง เช่น จากประสบการณ์ของตนเอง จากของคนอื่น และจากกระบวนการทำงาน สร้างวัฒนธรรมในการรายงานอุบัติการณ์ โดยให้ผู้รายงานรู้สึกสบายใจที่จะรายงาน มีแนวทางการรายงานที่ชัดเจน มีหลักประกันในการไม่ให้คุณให้โทษแก่ผู้รายงานแต่มุ่งแก้ไขที่การปรับปรุงระบบ ได้รับการตอบสนองอย่างทันเวลา สามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงได้ถูกต้อง จากระดับความรุนแรงและความถี่ สามารถหาวิธีการป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงและใช้หลักการ PDCA ในการประเมินติดตามได้อย่างเป็นรูปธรรม การบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยต้องอาศัย ความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญ และต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจากเจ้าหน้าที่ทุกระดับ รวมทั้งผู้บริหารควรให้การสนับสนุน พร้อมกับร่วมกระตุ้นการค้นหาการรายงาน โรงพยาบาลราชพิพัฒน์จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย เพื่อจัดการความเสี่ยงของเจ้าหน้าที่ มีการจัดทำทะเบียนความเสี่ยง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบงานทุกส่วน เพื่อนำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้เกิดขึ้นในโรงพยาบาลต่อไป
07130000/07130000
2.1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจความหมายของความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง 2.2 เพื่อกระตุ้นให้ทุกหน่วยงานมีการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย โดยมีผู้เข้าร่วมการอบรม จำนวนทั้งสิ้น 170 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่น รวม 140 คน ดังนี้ 1) รุ่นที่ 1 ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน และระดับปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ ตำแหน่งนายแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์ นักกายภาพบำบัด เภสัชกร นักเทคนิคการแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสุขาภิบาล นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการเงินและบัญชี นักโภชนาการ นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์ นักเวชนิทัศน์ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานพัสดุ นายช่างเทคนิค เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี โภชนากร ผู้ช่วยทันตแพทย์ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานเวชสถิติ เจ้าพนักงานสาธารณสุข พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ จำนวน 60 คน รุ่นที่ ๒ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน และระดับปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ ตำแหน่งนายแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์ นักกายภาพบำบัด เภสัชกร นักเทคนิคการแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสุขาภิบาล นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการเงินและบัญชี นักโภชนาการ นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์ นักเวชนิทัศน์ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานพัสดุ นายช่างเทคนิค เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี โภชนากร ผู้ช่วยทันตแพทย์ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานเวชสถิติ เจ้าพนักงานสาธารณสุข พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ จำนวน 60 คน 2) รุ่นที่ 1 บุคลากรกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ พนักงานรับโทรศัพท์ พนักงานเปล พนักงานช่วยเหลือคนไข้ พนักงานทั่วไป จำนวน 10 คน รุ่นที่ 2 บุคลากรกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ พนักงานรับโทรศัพท์ พนักงานเปล พนักงานช่วยเหลือคนไข้ พนักงานทั่วไป จำนวน 10 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 28 คน รุ่นที่ 1 จำนวน 14 คน รุ่นที่ 2 จำนวน 14 คน 2) วิทยากร จำนวน 2 คน รุ่นที่ 1 จำนวน 1 คน รุ่นที่ 2 จำนวน 1 คน
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่% |
๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2021-04-21)
21/04/2564 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
** อุปสรรคของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2021-03-24)
24/03/2564 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน (ต่อ)
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน (ต่อ)
** อุปสรรคของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน (ต่อ)
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2021-02-23)
23/02/2564 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน (ต่อ)
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2021-01-22)
22/01/2564 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน
** อุปสรรคของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง คณะกรรมการการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-12-24)
24/12/2563 : ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ (ต่อ) เตรียมจัดตั้งคณะกรรมการของการดำเนินโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 4.00 (2020-11-23)
23/11/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ (ต่อ)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 2.00 (2020-10-27)
27/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 22.81
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **