ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่ : 07000000-7095

สำนักการแพทย์ : (2565)

6

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 6

โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยในสถานการณ์ปัจจุบัน การเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัยและสาธารณภัยรวมทั้ง การระบาดของโรคติดเชื้อต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย มีแนวโน้มเกิดขึ้นบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งแต่ละครั้งก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและทางราชการ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ เมื่อเกิดเหตุขึ้นทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ และญาติมีความคาดหวังในด้านการบริการ ความต้องการที่รวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย ปรารถนาที่จะรอดชีวิต และพ้นจากความพิการ กุญแจสำคัญในการตอบสนองเมื่อเกิดเหตุ คือ การร้องขอความช่วยเหลือ และเตรียมพร้อมกำลังบุคลากร ทรัพยากรให้พร้อมเพรียงอย่างรวดเร็ว ระดมกำลังบุคลากรและทรัพยากร ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มีการสื่อสาร ประสานงานอย่างเหมาะสม ดูแลผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ ให้การรักษาทางการแพทย์อย่างถูกต้อง ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ติดตามการรักษาของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปรักษา ในสถานพยาบาลที่ใกล้เคียง โดยไม่เกิดการบาดเจ็บซ้ำซ้อน และฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บอย่างเหมาะสม ณ ปัจจุบันโรงพยาบาลราชพิพัฒน์มีทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงแหล่งชุมชน และโรงเรียน มีการขยายโครงสร้างตึกอาคาร จำนวนเตียงรับผู้ป่วยรวมถึง มีบุคลากรใหม่ๆเข้ามาปฏิบัติงานจำนวนมาก เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ และทำความเข้าใจต่อการจัดการเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมทางด้านบุคลากรทางการแพทย์ สถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ทางโรงพยาบาลราชพิพัฒน์จึงได้ตระหนัก ถึงความจำเป็นในการดำเนินการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่ เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลมีประสบการณ์ และมีความมั่นใจในการปฏิบัติงานเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้นจริง เป็นการเตรียมพร้อมในการเผชิญเหตุ และช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บเพิ่มขึ้น ช่วยลดอัตราการตาย และความพิการของผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บได้

07130000/07130000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในแผนการรับอุบัติภัยหมู่2. เพื่อให้บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม ประเมินอาการผู้บาดเจ็บและคัดแยกประเภทได้3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจัดการดูแลผู้บาดเจ็บจากภาวะฉุกเฉินได้เหมาะสม

เป้าหมายของโครงการ

จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 50 คน ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ดังนี้1) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติงาน - ชำนาญงาน และ ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งนายแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์ นักกายภาพบำบัด พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ จำนวน 25 คน 2) บุคลากรกรุงเทพมหานคร ตำแหน่ง พนักงานช่วยเหลือคนไข้ พนักงานทั่วไป พนักงานเปล จำนวน 15 คนผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน ดังนี้1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 8 คน2) วิทยากร จำนวน 2 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2022-04-21)

6.00

21/04/2565 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่

** อุปสรรคของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ผู้รับผิดชอบโครงการได้เล็งเห็นผลกระทบในการจัดโครงการอาจเกิดความเสี่ยงในการรวมกลุ่มคน เพิ่มความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงขอยกเลิกการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2022-03-22)

6.00

22/03/2565 : ยังไม่ได้ดำเนินการขออนุมัติโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

** ปัญหาของโครงการ :ยังไม่ได้ดำเนินการขออนุมัติโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

** อุปสรรคของโครงการ :ยังไม่ได้ดำเนินการขออนุมัติโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2022-02-22)

6.00

22/02/2565 : ยังไม่ได้ดำเนินการขออนุมัติโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2022-01-20)

6.00

20/01/2565 : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

** อุปสรรคของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COID-19) ที่กำลังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและมีโอกาสที่จะเกิดแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง จึงขอชะลอการเขียนโครงการเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ออกไปก่อน

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2021-12-21)

6.00

21/12/2564 : - ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ (ต่อ)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 4.00 (2021-11-23)

4.00

23/11/2564 : ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ (ต่อ)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 2.00 (2021-10-28)

2.00

28/10/2564 : ศึกษาดำเนินการเขียนโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
:10.00%
เริ่มต้น :2021-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการพิจารณาคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม
:10.00%
เริ่มต้น :2021-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3.ประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
:10.00%
เริ่มต้น :2021-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5.ดำเนินการอบรมโดยการบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ
:30.00%
เริ่มต้น :2022-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6.ประเมินผลการอบรม
:10.00%
เริ่มต้น :2022-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7.นำเสนอผลสรุปการอบรม
:10.00%
เริ่มต้น :2022-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:8.จัดทำและเสนอแบบประเมินสพข. 2/2559
:10.00%
เริ่มต้น :2022-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-03-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 07000000-7095

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 07000000-7095

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0700-838

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 22.81

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.75

100 / 100
2
5.26

0 / 0
3
12.28

0 / 0
4
22.81

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **