ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ดังนั้น มีการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน เพื่อลดปัญหาและปัจจัยต่างๆที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ รวมทั้งสังคมและเศรษฐกิจของชาติ สำนักการแพทย์โดยโรงพยาบาลสังกัด 9 แห่ง จึงได้จัดโครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานปละความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
07020000/07020000
๒.๑ เพื่อประเมินผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังที่มีโอกาสเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน ๒.๒ เพื่อดูแลสุขภาพผู้ป่วยแบบองค์รวมโดยการอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง ๒.๓ เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวะการเจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อน
เชิงปริมาณ 1.พัฒนาและจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และสื่อนวัตกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในคลินิกอายุรกรรม คลินิกความดันโลหิตสูง คลินิกเบาหวาน 3.ประเมินภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เชิงคุณภาพ ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-30)
30/09/2566 : ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 9 แห่ง ได้รับการประเมิน CVD Risk จำนวน 11,535 ราย มีความเสี่ยงสูง จำนวน 3,033 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม แล้วมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 2,064 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.05
** ปัญหาของโครงการ :1. จำนวนบุคลากรผู้ดูแลเรื่องเบาหวานความดันโลหิตสูงไม่มีกลุ่มงานเฉพาะ ดูแลในภาพรวมของแผนกผู้ป่วยนอกตามสิทธิ์ 2. การจัดกิจกรรมเป็นรูปแบบคณะกรรมการดำเนินงาน มีข้อจำกัดเรื่องงานประจำของหน่วยงาน ไม่สามารถดำเนินการตามแผนงาน 3. จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานความดันโลหิตสูงมีจำนวนมากการจัดบริการไม่ทั่วถึง 4. คลินิกพิเศษเบาหวานความดันโลหิตสูง ผู้รับบริการไม่สะดวกในช่วงตอนเย็น จึงมีการเข้าถึงบริการวันละ 10 – 20 ราย ผู้รับบริการสะดวกในช่วงเวลาราชการ ทำให้มีจำนวนวันละ 70 – 100 รายต่อวัน ในคลินิกประกันสุขภาพและคลินิกอายุรกรรม
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 89.00 (2023-08-27)
27/08/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD risk
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-23)
23/07/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD risk
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-22)
22/06/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD risk
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-26)
26/05/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD risk
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 38.00 (2023-04-28)
28/04/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD risk
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 29.00 (2023-03-25)
25/03/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD rish
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD rish
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 13.00 (2023-01-23)
23/01/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตสูงหรือคลินิกอายุรกรรมที่เข้าเกณฑ์ และนำมาประเมินความเสี่ยง Thai CVD rish
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2022-12-29)
29/12/2565 : อยู่ระหว่างดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินความเสี่ยง CVD RISK สูง และเข้าสู่กระบวนการและ มี CVD RISK ลดลง (ปี 2566)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 0
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 68.05
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **