ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ โทร. 02-2207263
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ช่วงอายุ 0-5 ปีเป็นช่วงเวลาพัฒนาการการเจริญเติบโตที่สำคัญของเด็ก ควรเป็นช่วงเวลาที่เด็กจะได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ให้มากที่สุด การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเด็ก 0–5 ปี ในเขตกทม. เป็นหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของสำนักการแพทย์ เด็กทุกคนควรได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
07020000/07020000
1. สร้างความตระหนัก และความสำคัญด้านการเจริญเติบโตของเด็ก 2. เพื่อเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาพัฒนาการเจริญเติบโตของเด็กในกทม.
เด็กปฐมวัยได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-30)
30/09/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้จัดตั้งคลินิกสุขภาพเด็กดี เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้รับการประเมินพัฒนาการ การเจริญเติบโต ภาวะโภชนาการ ตามบริการมาตรฐานเด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดีทุกด้าน เช่น ด้านพัฒนาการ การเจริญเติบโต ภาวะโภชนาการ สุขภาพกายและทันตสุขภาพ หากพบความผิดปกติจะได้ให้การช่วยเหลือหรือแนะนำตั้งแต่แรกเริ่ม พ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็ก ได้รับความรู้และทักษะการอบรมเลี้ยงดู เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีในทุกด้านตั้งแต่แรกเกิดการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความผิดปกติที่เป็นปัญหาต่อการเติบโตและพัฒนาการเด็ก เฝ้าระวังและวินิจฉัยโรคแต่เริ่มแรก และให้การรักษาทันที เช่น ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด การมองเห็น การได้ยิน ภาวะโลหิตจาง เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ นอกจากนี้ สำนักการแพทย์ได้เปิดศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับนมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิด – 6 เดือนและได้รับนมแม่ร่วมกับอาหารตามวัยถึง 1 - 2 ปี ควบคู่ไปกับการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและการบริหารจัดการนมแม่อย่างมีคุณภาพ สรุปผลการการดำเนินงานการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (แรกเกิด - ๕ ปี) ที่มีพัฒนาสมวัยที่มารับบริกรารในโรงพยาบาลทั้ง 8 แห่ง รายละเอียด ดังนี้ จำนวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก และ จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน (1B260) เท่ากับ 3,189 คน จำนวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทั้งหมด ที่รับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ เท่ากับ 3,718 คน คิดเป็นร้อยละ 85.77
** ปัญหาของโครงการ :1. สถานที่คับแคบ มีเสียงรบกวน 2. มีผู้ผ่านการอบรมการคัดกรองพัฒนาการด้วยเครื่องมือ DSPM เพียง 1 ท่าน 3. ผู้ปกครองบางท่านไม่ให้ความสำคัญกับการประเมินพัฒนาการเด็ก
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-08-27)
27/08/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-23)
23/07/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-26)
26/05/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-28)
28/04/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-25)
25/03/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-24)
24/01/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการเด็กเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยดำเนินการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) ด้วยการคัดกรองโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกร่วมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำแล้วผลการประเมินผ่านครบ 5 ด้าน ภายใน 30 วัน (1B260) และให้ความรู้ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)
30/12/2565 : การให้บริการเด็กที่มารับบริการตามพัฒนาการช่วงวัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย (แรกเกิด - ๕ ปี) มีพัฒนาการสมวัย (ปี 2566)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 0
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 85.77
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **