ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
สถานการณ์สังคมสูงอายุในปัจจุบันก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สถานภาพ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (Chronic Illness) ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง ส่งผลให้ภาระในการดูแลสุขภาพและช่วยเหลือผู้ที่ต้องการพึ่งพิงสูงขึ้น ทำให้ระบบบริการสุขภาพจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างครอบคลุม และเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างสะดวกและทั่วถึง รวมถึงขับเคลื่อนการบูรณาการระบบบริการสุขภาพและบริการสังคมเข้าด้วยกัน ปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลสถิติในปี 2563 ประชากรไทยมีจำนวน 66.5 ล้านคน เป็นประชากรผู้สูงอายุจำนวน 11,627,130 คน สัดส่วนคิดเป็น ร้อยละ 18.1 โดยในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,108,219 คน คิดเป็นร้อยละ 19.8 (ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563) และคาดว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินกว่า ร้อยละ 20 นั่นหมายถึงประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหา อันเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพ โดยพิจารณาจากความสามารถในการดูแลตนเอง รวมถึงผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ต้องได้รับการช่วยเหลือเพิ่มสูงขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนผลักดันให้ระบบบริการสุขภาพพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง ทำให้เกิดความจำเป็นและต้องการรูปแบบการดูแลระยะกลางที่มีคุณค่าต่อระบบ สถานบริการดูแลสุขภาพระยะกลาง แบ่งได้เป็น 2 ระดับ ระดับแรกคือโรงพยาบาล (Hospital - based Intermediate Care) สำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นและความต้องการการดูแลรักษาต่อเนื่อง จำเป็นต้องมีบุคลากรผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ด้านสุขภาพ เข้าร่วมให้บริการช่วยเหลือดูแล และระดับที่สองคือ ชุมชน (Community - based Intermediate Care) สำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นและความต้องการการดูแลฟื้นฟูสุขภาพต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้สำนักการแพทย์จึงได้จัดทำโครงการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care: IMC) สำนักการแพทย์ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู ได้รับการดูแลรักาต่อเนื่องอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพ เพื่อลดภาวะบกพร่องการทำกิจวัตรประจำวัน ลดภาวะพึ่งพิงและเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุระยะยาว
07020000/07020000
เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care: IMC) ให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
สำนักการแพทย์มีศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care: IMC) สำหรับผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลถึงชุมชน
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-05-27)
27/05/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครที่เริ่มตั้งแต่การคัดกรองก่อนเกิดโรค การบำบัดฟื้นฟูป้องกันการดำเนินไปสู่ภาวะแทรกซ้อน และการดูแล ฟื้นฟูระยะกลางของผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยเฉพาะหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล กลุ่มผู้ป่วยที่มีความจำเป็น อาทิ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บทางไขสันหลัง และผู้สูงอายุที่มี ADL ลดลง หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มีโรงพยาบาลที่นำร่องในการเปิดให้บริการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-28)
28/04/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครที่เริ่มตั้งแต่การคัดกรองก่อนเกิดโรค การบำบัดฟื้นฟูป้องกันการดำเนินไปสู่ภาวะแทรกซ้อน และการดูแล ฟื้นฟูระยะกลางของผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยเฉพาะหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล กลุ่มผู้ป่วยที่มีความจำเป็น อาทิ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บทางไขสันหลัง และผู้สูงอายุที่มี ADL ลดลง หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มีโรงพยาบาลที่นำร่องในการเปิดให้บริการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-25)
25/03/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครที่เริ่มตั้งแต่การคัดกรองก่อนเกิดโรค การบำบัดฟื้นฟูป้องกันการดำเนินไปสู่ภาวะแทรกซ้อน และการดูแล ฟื้นฟูระยะกลางของผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยเฉพาะหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล กลุ่มผู้ป่วยที่มีความจำเป็น อาทิ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บทางไขสันหลัง และผู้สูงอายุที่มี ADL ลดลง หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มีโรงพยาบาลที่นำร่องในการเปิดให้บริการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครที่เริ่มตั้งแต่การคัดกรองก่อนเกิดโรค การบำบัดฟื้นฟูป้องกันการดำเนินไปสู่ภาวะแทรกซ้อน และการดูแล ฟื้นฟูระยะกลางของผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยเฉพาะหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล กลุ่มผู้ป่วยที่มีความจำเป็น อาทิ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บทางไขสันหลัง และผู้สูงอายุที่มี ADL ลดลง หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มีโรงพยาบาลที่นำร่องในการเปิดให้บริการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-24)
24/01/2566 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) เพื่อให้เกิดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครที่เริ่มตั้งแต่การคัดกรองก่อนเกิดโรค การบำบัดฟื้นฟูป้องกันการดำเนินไปสู่ภาวะแทรกซ้อน และการดูแล ฟื้นฟูระยะกลางของผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่ต้องรับการฟื้นฟู เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยเฉพาะหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล กลุ่มผู้ป่วยที่มีความจำเป็น อาทิ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง ผู้ป่วยบาดเจ็บทางไขสันหลัง และผู้สูงอายุที่มี ADL ลดลง หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มีโรงพยาบาลที่นำร่องในการเปิดให้บริการศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (IMC) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)
30/12/2565 : อยู่ระหว่างประชุมเพื่อกำหนดแนวทางให้บริการและจัดทำโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : อัตราความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ของผู้ป่วยระยะกลางเพิ่มขึ้น 1 ระดับ (ปี 2566)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 0
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 84.43
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **