ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก (กอพ.) : 08000000-3688

สำนักอนามัย : (2563)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางสาวศิราณี คุณาจารย์ : 0 2860 8751-6 ต่อ 401

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

การติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก เป็นสาเหตุหลักของการติดเชื้อเอชไอวีในเด็ก ถ้าไม่มีการป้องกันร้อยละ 25 ถึง ร้อยละ 40 ของเด็กทีี่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวีด้วยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายให้สถานบริการของรัฐ ดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอฃไอวีจากแม่สู่ลูก และเพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายดังกล่าว สำนักอนามัย กรุงเทพมหานครจึงได้มีการดำเนินกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT) ในศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง โดยมีบริการให้คำปรึกษาก่อนและหลังการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อรับยาต้านไวรัสป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก โดยร่วมกับโรงพยาบาลทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยกองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นผู้รวบรวมและให้บริการในด้านวิชาการ รวมทั้งสรุปผลการดำเนินกิจกรรม

08100000/08100000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ได้รับการปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวี ในกรณีหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีจะได้รับการส่งต่อเพื่อรับยาต้านไวรัสตามสิทธิการรักษา 2. เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก

เป้าหมายของโครงการ

1. ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับการส่งต่อบริการ (ผลผลิต) 2. ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับการดูแลรักษาตามนโยบายการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกฯ (ผลลัพธ์)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ%
๗.๒.๑.๒ หน่วยงานมีแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-08-20)

100.00

20/8/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - สรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2563 (พ.ค. - ก.ค. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ณ เดือนสิงหาคม 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2563) ยอดสะสม ต.ค. 62 - ปัจจุบัน - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 1,282 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 1,282 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 8 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 2 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2020-08-07)

98.00

7/8/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนเมษายน - กรกฎาคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-07-17)

95.00

17/7/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - สรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2563 (เม.ย. - มิ.ย. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ณ เดือนกรกฎาคม 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2563) ยอดสะสม ต.ค. 62 - ปัจจุบัน - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 1,051 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 1,051 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 7 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 2 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-07-09)

90.00

9/7/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 86.00 (2020-06-18)

86.00

18/6/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - สรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2563 (มี.ค. - พ.ค. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนมิถุนายน 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2563) ยอดสะสม ต.ค. 62 - ปัจจุบัน - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 976 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 976 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 6 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-06-08)

80.00

8/6/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-05-18)

75.00

18/5/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - สรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 (ก.พ. - เม.ย. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนพฤษภาคม 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 14 พฤษภาคมน 2563) ยอดสะสม ต.ค. 62 - ปัจจุบัน - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 849 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 849 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 5 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-05-08)

70.00

8/5/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-04-17)

65.00

17/4/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - สรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 (ม.ค. - มี.ค. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนเมษายน 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 14 เมษายน 2563) ยอดสะสม ต.ค. 62 - ปัจจุบัน - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 710 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 710 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 3 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-04-09)

60.00

9/4/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนมกราคม - เมษายน 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2020-03-18)

55.00

18/3/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนธันวาคม 2562 - มีนาคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - เตรียมสรุปผลข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 (ม.ค. - มี.ค. 63) รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนมีนาคม 2563 (ณ วันที่ 16 มี.ค. 63) (ยอดสะสม) - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 551 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 551 ราย - มีข้อมูลรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 3 ราย โดยแบ่งเป็น 1) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย 2) ส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-03-09)

50.00

9/3/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนธันวาคม 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - เตรียมสรุปข้อมูลผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 (ม.ค. - มี.ค. 63) และเตรียมการสรุปข้อมูลผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2563 (ต.ค. 62 - มี.ค. 63)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-02-19)

45.00

19/2/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนธันวาคม 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา โดยบันทึกข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(14) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-02-06)

40.00

6/2/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนพฤศจิกายน 562 - มกราคม 2563 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ณ เดือนมกราคม 2563 (ณ วันที่ 29 ม.ค. 63) - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 359 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 359 ราย - มีการรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 2 ราย โดยส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย และส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(15) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2020-01-17)

35.00

17/1/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel - ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบรายงานที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมาในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2563 (ต.ค.-ธ.ค.62)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(16) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-01-09)

30.00

9/1/2563 : ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานฯ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 (ณ วันที่ 26 ธ.ค. 62) - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 128 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 128 ราย - มีการรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 2 ราย โดยส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย และส่งต่อเพื่อรับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(17) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2019-12-19)

25.00

19/12/2562 : - ดำเนินการติดตามแบบรายงานกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 - ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบรายงานที่ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งกลับมา - บันทึกข้อมูลแบบรายงานฯ ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลลงใน Program Microsoft Excel รายงานข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 (ณ วันที่ 28 พ.ย. 62) - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 90 ราย - จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 90 ราย - ยังไม่มีการรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(18) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-12-09)

20.00

9/12/2562 : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 90 ราย จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 90 ราย ยังไม่มีการรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(19) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2019-11-20)

15.00

20/11/2562 : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาก่อนการตรวจหาเอชไอวี (Pre-Test Counseling) จำนวน 46 ราย จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับคำปรึกษาหลังการตรวจหาเอชไอวี (Post-Test Counseling) จำนวน 46 ราย ยังไม่มีการรายงานพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีในศูนย์บริการสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(20) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-11-08)

10.00

8/11/2562 : - สรุปข้อมูลผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 - เตรียมข้อมูลการดำเนินงานกิจกรรมในปีงบประมาณ 2562 - ดำเนินการติดตามแบบรายงานประจำเดือนตุลาคม 2562

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(21) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2019-10-31)

5.00

31/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน วางแผนการดำเนินงานป้องกันการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ทบทวนแนวทางการให้บริการและระบบการส่งต่อการณีพบหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อตามแนวทางกรมอนามัย
:15.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ชี้แจงและจัดส่งแนวทางการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ANC ใน ศบส. 68 แห่ง
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการดำเนินงานให้บริการปรึกษาแบบคู่
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ตอบข้อซักถามปัญหา การดำเนินงานและแบบรายงาน
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:สรุปผลการดำเนินงานรายไตรมาส/รายปี
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:ติดตามระบบการเก็บข้อมูลพร้อมสรุปข้อมูลรายปี
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-3688

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-3688

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-0944

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 66.67

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
10.26

100 / 100
3
20.51

0 / 0
4
66.67

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **