ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระบบสุขภาพปฐมภูมิ : 08000000-7050

สำนักอนามัย : (2566)

10

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 10

สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

สำนักอนามัยมีบทบาทในการให้บริการการแพทย์และสาธารณสุข ครอบคลุมทั้งในด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การบำบัด การรักษาพยาบาล การป้องกันและการบำบัดยาเสพติด การจัดการสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลที่ดีให้กับประชาชร โดยมีการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างหน่วยงำนภำยในสำนักอนำมัย และหน่วยงำนภำยนอก รวมทั้งภำคีเครือข่ำยกำรสร้ำงเสริมสุขภำวะของประชำชน ในลักษณะองค์รวม (Holistic care) ซึ่งการดำเนินงานของสำนักอนามัยมียุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการสร้ำงเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุก รวมทั้งการฟื้นฟูสุขภาพและสังคมสงเคราะห์แบบครบวงจร บนพื้นฐานข้อมูลจริง จำแนกตามพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการสร้าง ขยายพัฒนา และจัดการเครือข่ายสนับสนุนบริการ ทำงการแพทย์การสาธารณสุขและสำนักอนามัยได้เริ่มการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัวในปีงบประมำณ 2561 จำนวน 4 เขต ได้แก่เขตลาดพร้าว ดอนเมือง บางกอกน้อยและจอมทอง โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 29 30 60 และ66 ทำหน้าที่เป็นArea manager ในปีงบประมาณ พ.ศ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 69 แห่งได้ผ่านการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมีเครือข่ายหน่วยบริการทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเข้าร่วมดำเนินงาน ซึ่งในการดำเนินงานดังกล่าวประกอบไปด้วยทีมสหวิชาชีพโดยมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นหัวหน้าทีม และมีจุดมุ่งหมายเพื่อดูแลสุขภาพของบุคคลในเขตพื้นที่ในลักษณะองค์รวมตั้งแต่แรกต่อเนื่องและผสมผสานครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสุขภาพ มีการเชื่อมโยงการทางานกับภาคีเครือข่าย ชุมชน และหน่วยบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เพื่อให้การดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข จึงจัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระบบสุขภาพปฐมภูมิ”ขึ้น เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกำรดำเนินงาน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ยั่งยืน

08940000/08940000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้บุคลากรเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 ในการจัดบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานให้กับประชาชน 2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในการให้บริการระบบสุขภาพปฐมภูมิระหว่างหน่วยบริการในเครือข่าย

เป้าหมายของโครงการ

จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานรวมทั้งจัดเวทีแลกเรียนรู้ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.1 กลุ่มเป้าหมายหลัก จำนวน 136 คน ข้าราชการจากศูนย์บริการสาธารณสุข สังกัดสำนักอนามัย แห่งละ 2 ท่าน ตำแหน่งประเภทอำนวยการหรืออำนวยการเฉพาะด้าน ระดับต้น – สูง ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการพิเศษ 3.2 ผู้เกี่ยวข้อง 19 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 14 คน และวิทยากร 5 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)
๑.๕.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ%
๑.๕.๑.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC)

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-07-18)

10.00

18/07/2566 : สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขได้รับความเห็นชอบให้ยกเลิกโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระบบสุขภาพปฐมภูมิในแผนปฏิบัติราชการสำนักอนามัย ประจำปี พ.ศ.2566 ตามหนังสือที่ กท 0702/2049 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-06-27)

10.00

2003-06-27 : จัดทำหนังสือขอยกเลิกโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระบบสุขภาพปฐมภูมิในแผนปฏิบัติราชการสำนักอนามัย ประจำปี พ.ศ.2566 ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.5 เมืองสุขภาพดี (Healthy City) เป้าประสงค์ที่ 1.5.1 ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ เนื่องจากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข อยู่ระหว่างการจัดทำหลักสูตร Area manager ของศูนย์บริการสาธารณสุข ร่วมกับราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย สถาบันพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศและมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทีมนำเครือข่ายระดับพื้นที่ให้มีความสามารถในการจัดบริการปฐมภูมิในด้านการบริหารจัดการหน่วยบริการปฐมภูมิและแครือข่ายด้านบริหารจัดการเครือข่ายทั้งรัฐและเอกชน ด้านการออกแบบและจัดบริการในรูปแบบเครือข่ายด้วยหลักเวชศาสตร์ครอบครัว ด้านการประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องและด้านการควบคุมกำกับ พัฒนาบุคลากรและคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวประกอบไปด้วยโมดูลที่ 1 แนวคิดหลักการที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการปฐมภูมิในบริบทเมืองและมหานคร โมดูลที่ 2 กระบวนการออกแบบระบบบริการ และรูปแบบบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในบริบทเมืองและมหานครและโมดูลที่ 3 การออกแบบระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการในบริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลงแบบ VUCA และBANI ซึ่งคาดว่าจะเริ่มจัดโครงการอบรมโมดูลที่ 1 วันที่ 17 – 18 สิงหาคม 2566 โมดูลที่ 2 วันที่ 14 – 15 กันยายน 2566 และโมดูลที่ 3 วันที่ 26 – 27 ตุลาคม 2566 และได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ (สำนัก7) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-05-31)

25.00

31/05/2566 : จัดทำหนังสือขอเห็นชอบใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข (บัญชี) โครงการ สร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระบบสุขภาพปฐมภูมิ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-04-27)

15.00

27/04/2566 :ปรับแก้ไขรายละเอียดในโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-31)

10.00

31/03/2566 : อยู่ระหว่างการปรับโครงการและเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-02-28)

10.00

28/02/2566 :

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-17)

5.00

17/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
:10.00%
เริ่มต้น :2023-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ประสานหน่วยงาน และสถานที่จัดประชุม
:10.00%
เริ่มต้น :2023-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-02-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. ประสานวิทยากร
:10.00%
เริ่มต้น :2023-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-02-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดทำคำสั่งผู้เข้ารับการประชุม
:20.00%
เริ่มต้น :2023-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. ดำเนินการจัดประชุม
:20.00%
เริ่มต้น :2023-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
:20.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7. จัดทำรายงานสรุปผลเสนอผู้บริหาร
:10.00%
เริ่มต้น :2023-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-7050

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-7050

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-6705

ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนในกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในหน่วยบริการปฐมภูมิ ครบถ้วนในปี 70 (ร้อยละ 100) - ร้อยละ 70 ของประชาชนผู้รับบริการพอใจในการใช้บริการ ในทุกมิติที่ระดับ 4 ขึ้นไป

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 92.57

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
92.57

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **