ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
กองสร้างเสริมสุขภาพ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ภาวะโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็กเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีของชีวิต และยังมีความสำคัญมากต่อการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในวัยเรียน ซึ่งจะเป็นปัญหาด้านสุขภาพต่อเนื่องถึงวัยผู้ใหญ่ต่อไป ภาวะทุพโภชนาการในทารกและเด็กเล็กจัดเป็นปัญหาที่สำคัญ และอาจมีแนวโน้มสูงขึ้นจากปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาโรคระบาด การขาดความรู้ในการเลี้ยงดูและการเป็นคุณแม่ในวัยรุ่น สำนักอนามัย มีศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ที่มีส่วนงานที่ดูแลเด็กทารกและเด็กเล็กคือ คลินิกสุขภาพเด็กดี สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน (Day care) 12 แห่ง และได้ร่วมมือกับสำนักพัฒนาสังคม ในการให้ความรู้ครูพี่เลี้ยงของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร สำนักพัฒนาสังคม 292 แห่ง ซึ่งทั้ง 3 หน่วยงานเป็นหน่วยงานที่สำคัญในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตเด็ก วัยทารกและเด็กเล็ก โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมทั้งให้คำแนะนำและปรึกษาปัญหาทางโภชนาการ จากการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0–5 ปี โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินภาวะโภชนาการ พบว่าเด็กอายุ 0–5 ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 64.88 (ปี 2560), 65.20 (ปี 2561) , 63.54 (ปี 2562) , 64.21 (ปี 2563), 65.33 (ปี 2564) ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มคงที่ ทั้งนี้ทุกฝ่ายทุกหน่วยงานต้องเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อสร้างเสริมสุขภาพในเด็กอายุ 0 5 ปี ให้มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไป
08030000/08030000
1. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการชองเด็กอายุ 0-5 ปี 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาพของวัยทารกและเด็กเล็กให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการ และมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-11)
11/09/2566 : -ประสานติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานนำเสนอผู้บริหารฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-14)
14/08/2566 : -ประสานติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -วิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-17)
17/07/2566 : -ประสานติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -วิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการไตรมาสที่ 1-3
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-17)
17/06/2566 : -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-05-17)
17/05/2566 : -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 53.00 (2023-04-19)
19/04/2566 : -ประสานสำนักพัฒนาสังคม เพื่อติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ครั้งที่ 1 -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-03-15)
15/03/2566 : -ประสานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ไตรมาสที่ 1 เเละ 2 -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ตรวจสอบข้อมูลรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 39.00 (2023-02-18)
18/02/2566 : -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ประสานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 37.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : -จัดทำหนังสือขอความร่วมมือดำเนินการจัดส่งข้อมูลผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ตุลาคม 2564-กันยายน 2565) ถึงผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 1-69 -จัดทำหนังสือขอแจ้งรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ถึงผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 1-69 -จัดทำแผนการดำเนินงาน เครื่องมือ และเอกสารการดำเนินงาน -จัดทำหนังสือขอความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ถึงผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 1-69 -ตามหนังสือสำนักพัฒนาสังคม ที่ กท 1505/2802 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเรียนเชิญเป็นวิทยากรกิจกรรม “การอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย” รุ่นที่ 1-3 -จัดทำหนังสือขอส่งแบบสำรวจภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ในชุมชน (ภ.4) -จัดทำหนังสือรายงานผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี พ.ศ. 2565 และขอความร่วมมือดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ประจำปี พ.ศ. 2566 ถึงผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม -รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการจากศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม -ประสานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อติดตามข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-18)
18/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 68
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 62.73
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **