ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
จากสถานการณ์ปัจจุบันโรคเอดส์เป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีผลกระทบทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของประเทศชาติ และเป็นปัญหาที่ต้องการมาตรการในการแก้ไข โดยอาศัยข้อมูลที่มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อรายใหม่และควบคุมโรคเอดส์ ระบบการเฝ้าระวังโรคเอดส์ทางระบาดวิทยาเป็นเครื่องมือที่ช่วยบอกขนาดปัญหาและการกระจายของโรคในประชากรกลุ่มต่างๆ การเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วยเป็นแนวทางหนึ่งที่ทำให้ทราบว่ามีผู้ป่วยโรคเอดส์จำนวนมากน้อยเพียงใด โดยเป้าหมายขององค์การเอดส์แห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นเอดส์คือกำจัดโรคเอดส์ให้หมดไปภายในปี 2030 แต่ช่วง 2 ปีที่เกิดการระบาดของโควิด 19 พบว่าปริมาณการตรวจหาเชื้อเอชไอวีที่น้อยลง จำนวนผู้ติดเชื้อที่เข้ารับยาต้านไวรัสที่ลดลง และจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่ลดลงในอัตราช้ากว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งส่งผลกระทบทั้งต่อการรักษา การป้องกัน และการให้ความรู้ สถานการณ์ในประเทศไทย มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่จำนวน 493,859 คน เป็นผู้ติดเชื้อรายใหม่ จำนวน 5,825 คน เฉลี่ย 16 คนต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี 11,214 รายต่อปี เฉลี่ย 31 รายต่อวัน (ข้อมูล ณ เดือน เม.ย. 2564) การติดเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส์ เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 กรมควบคุมโรค ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข ได้พัฒนาระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรค AIDS Epidemic Intelligence Information System (AIDS-EIIS) ขึ้นภายใต้นโยบายปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักอนามัย ได้ดำเนินการร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข ได้พัฒนาระบบข้อมูลในการเฝ้าระวังโรค ในการพัฒนาระบบการติดตามข้อมูลการให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Bangkok Smart Monitoring System : BSMS ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการในการจัดเก็บและรายงานข้อมูลซ้ำซ้อน โดยมีวัตถุประสงค์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ของประชาชนในพื้นที่ และสามารถนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การบริหาร จัดการด้านสุขภาพ และจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะเป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพรูปแบบการดำเนินงานด้านเอดส์ของศูนย์บริการสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่เข้ารับบริการ อันจะนำไปสู่การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกันและมุ่งสู่เป้าหมายกำจัดโรคเอดส์ให้หมดไปภายในปี 2030 ต่อไป
08100000/08100000
2.1 เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพระหว่างหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์โรค 2.2 เพื่อให้เกิดระบบจัดการข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพด้านเอชไอวี ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
3.1 ร้อยละ 60 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานครส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 3.2 ร้อยละ 70 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์มีคุณภาพ
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-08-31)
31/08/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,105 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,142 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 14,105 คน ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2023-08-17)
17/08/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,340 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,535 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 14,681 คน ข้อมูล ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-21)
21/07/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,237 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,329 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 14,445 คน ข้อมูล ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-06-16)
15/05/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,003 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 16,761 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 13,029 คน ข้อมูล ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-16)
15/05/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,208 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 16,228 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 12,208 คน ข้อมูล ณ วันที่ 25 เมษายน 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-24)
24/04/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,556 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,263 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 13,553 คน ข้อมูล ณ วันที่ 24 เมษายน 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-03-16)
16/03/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,662 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,668 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 13,644 คน ข้อมูล ณ วันที่ 16 มีนาคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-02-15)
15/02/2566 : ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ รายงานข้อมูลจาก DashBoard BSMS : ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ 30,473 คน ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัส 17,979 คน ผู้ที่กดปริมาณไวรัสสำเร็จ 14,466 คน ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-18)
18/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร (สำนักการแพทย์ /สำนักอนามัย) ส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลส่งข้อมูลบริการทางการแพทย์ และสุขภาพของผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ มีคุณภาพ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : จำนวนสถานพยาบาลที่มีกระบวนการนำเข้าและใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพื่อดูคุณภาพบริการ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ที่ได้รับยาต้านไวรัสอย่างสมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน
ค่าเป้าหมาย เพิ่มขึ้นปีละ 10 โรงพยาบาล : 10
ผลงานที่ทำได้ เพิ่มขึ้นปีละ 10 โรงพยาบาล : 10
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **