ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กิจกรรมการรักษาผู้ป่วยวัณโรคด้วยระบบการกำกับกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT/VOT) ที่มีคุณภาพ : 08000000-7071

สำนักอนามัย : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อสำคัญที่เป็นปัญหาสาธารณสุข และเป็นสาเหตุสำคัญของการตายใน หลายๆประเทศทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 30 ประเทศ มีปัญหาวัณโรคจำนวนมาก วัณโรคในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งนี้อัตราการติดเชื้อโรคเอดส์ยังอยู่ในสถานการณ์ที่มีปัญหา (UNAIDS Report on the Global AIDS Epidemic 2014) การเคลื่อนย้ายของแรงงานพลัดถิ่น แรงงานต่างชาติ การย้ายสถานพยาบาลที่รักษาเป็นอุปสรรคต่อการติดตามมารักษาให้หายขาดได้ ทำให้พบว่ากรุงเทพมหานครมีผู้ป่วย วัณโรคขาดยามากถึงร้อยละ 10.25, 9.37 และ 9.44 ในปี 2561, 2562, 2563 ตามลำดับ จึงมีผลกระทบต่ออัตราดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) อัตราดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) ที่อาจมีแนวโน้มสูงขึ้น สำหรับในพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่มีประชากรมากเป็นลำดับหนึ่งของประเทศ ประมาณการว่ามีประชากรที่พักอาศัยอยู่ประมาณ 10 ล้านคน ซึ่งน่าจะมีผู้ป่วยวัณโรคอยู่มากกว่า 13,000 คน ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภทที่ขึ้นทะเบียนรักษาประมาณ 12,000 ราย ในขณะที่ผู้ป่วยที่มารับการรักษาจนหาย ประมาณร้อยละ 80 ซึ่งองค์การอนามัยโลกเสนอแนะว่าจะต้องรักษาให้หายมากกว่า ร้อยละ 85 และอัตราความครอบคลุมการค้นหาผู้ป่วยให้มากที่สุด จึงจะลดปัญหาการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสังคมได้ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานหลักในการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้จัดโครงการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเร่งรัดดำเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายการควบคุมป้องกันวัณโรค ทั้งสถานพยาบาลภาครัฐ และเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ดำเนินงานวัณโรคตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ สอดคล้องกับนโยบายกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่องและบรรลุตามเป้าหมาย

08100000/08100000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายการดำเนินงานด้านวัณโรคทั้งภาครัฐและเอกชน 2. เพื่อพัฒนาระบบการควบคุมวัณโรคให้เป็นแนวทางเดียวกัน 3. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานและองค์กรในการดำเนินงานด้านวัณโรค

เป้าหมายของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนทั้งสิ้น 51 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 51 คน ดังนี้ 1. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพนักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 15 คน 2. บุคคลภายนอก ผู้ประสานงานวัณโรคของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน จำนวน 25 คน ผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 11 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 7 คน 2. วิทยากร จำนวน 4 คน กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินงานวัณโรคในโรงเรียนของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนทั้งสิ้น 83 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 69 คน ดังนี้ 1. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติการ- ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข สำนักอนามัย จำนวน 69 คน ผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 14 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 9 คน 2. วิทยากร จำนวน 5 คน กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินงานวัณโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนทั้งสิ้น 83 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 69 คน ดังนี้ 1. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติการ- ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข สำนักอนามัย จำนวน 69 คน ผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 14 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 9 คน 2. วิทยากร จำนวน 5 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-08-31)

100.00

31/08/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-4/2566 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 525 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 480 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.43 ข้อมูล ณ 29 สิงหาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-08-16)

90.00

16/08/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-4/2566 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 440 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 402 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.36 ข้อมูล ณ 16 สิงหาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-17)

80.00

17/07/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-4/2566 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 437 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 398 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.08 ข้อมูล ณ 14 กรกฎาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-16)

70.00

15/06/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-3/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 377 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 339 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.92 ข้อมูล ณ 15 มิถุนายน 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :15/06/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-3/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 314 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 282 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.81 ข้อมูล ณ 15 พฤษภาคม 2566 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินงานวัณโรคในโรงเรียนของศูนย์บริการสาธารณสุข กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินงานวัณโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข ในปี 2566 ไม่ได้รับงบประมาณในการดำเนินการ แต่กิจกรรมการรักษาผู้ป่วยวัณโรคด้วยระบบการกำกับกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT/VOT) ที่มีคุณภาพ เป็นงานประจำที่ดำเนินการโดยไม่ใช้งบประมาณ

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-16)

60.00

15/05/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-3/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 314 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 282 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.81 ข้อมูล ณ 15 พฤษภาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-20)

50.00

18/04/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-2/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 245 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 219 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.39 ข้อมูล ณ 18 เมษายน 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-03-16)

35.00

16/03/2566 : ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1-2/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 245 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 217 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.57 ข้อมูล ณ 15 มีนาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-02-15)

25.00

15/02/2566 : - ประชุมชี้แจงแนวทางการรักษาผู้ป่วยวัณโรคด้วยระบบการกำกับการกินยา แบบมีพี่เลี้ยง (DOT/VOT) ร่วมกับพยาบาลผู้รับผิดชอบงานวัณโรค ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 - ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคทุกประเภท รอบ 1/2565 * ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 130 ราย * ผู้ป่วยที่รักษาสำเร็จ 117 ราย ข้อมูล ณ 8 กุมภาพันธ์ 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-18)

5.00

18/01/2566 : อยุ่ระหว่างดำเนินการ จัดเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเตรียมการประชุมชี้แจงแนวทาง/รายละเอียดพยาบาลศูนย์กลางเครือข่าย TB

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. จัดประชุมพยาบาลศูนย์กลางเครือข่าย TB Meeting ทุก 3 เดือน เพื่อชี้แจงรายละเอียด
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. เก็บรวบรวมผลการปฏิบัติงาน รายไตรมาส
:50.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. ติดตามรวบรวมประเมินผลการดำเนินงาน
:30.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-7071

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-7071

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-6729

ตัวชี้วัด : อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท (ผลลัพธ์)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 89

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 91.43

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
91.47

0 / 0
2
90.00

0 / 0
3
89.92

0 / 0
4
91.43

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **