ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
สุนัขและแมวเป็นสัตว์ที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย ในขณะเดียวกันสุนัขและแมวยังเป็นพาหะนำโรคพิษสุนัขบ้าสู่คนที่สำคัญ สามารถก่อให้เกิดปัญหาด้านสาธารณสุขต่างๆและก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญได้ สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะแมวที่สามารถกลับสัดและตั้งท้องได้ปีละหลายครั้ง สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข สำนักอนามัย ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุนัขและแมวในกรุงเทพมหานคร โดยการผ่าตัดทำหมันเพื่อลดการเพิ่มจำนวนตามธรรมชาติให้น้อยลงและเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนและองค์กรต่างๆ ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในมิติสิ่งแวดล้อมดี เรื่องการจัดระเบียบสัตว์จรจัด โดยดำเนินการทำหมันและฉีดวัคซีนเชิงรุกอย่างมียุทธศาสตร์ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีสุนัขและแมวลดน้อยลง จนหมดช่วงอายุขัยตามธรรมชาติ และสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.5 เมืองสุขภาพดี (Healthy City) เป้าประสงค์ที่ 1.5.6 อัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่สำคัญในเขตเมือง (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานของประเทศ) ดังนั้นสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข สำนักอนามัย จึงได้จัดโครงการการควบคุมการเพิ่มจำนวนสุนัขและแมว ในพื้นที่กรุงเทพมหานครทำให้แนวโน้มการเพิ่มจำนวนประชากรสัตว์ลดลง ป้องกันการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าและปัญหาด้านสาธารณสุขอื่น ๆ
08060000/08060000
2.1. เพื่อควบคุมการเพิ่มจำนวนของสุนัขและแมวในกรุงเทพมหานคร 2.2. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าจากการควบคุมจำนวนสุนัขและแมวที่เป็นพาหะนำโรค 2.3. เพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญและเรื่องร้องเรียนด้านสาธารณสุขจากการเพิ่มจำนวนของสุนัขและแมว
การควบคุมการเพิ่มจำนวนสุนัขและแมว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยการผ่าตัดทำหมัน จำนวน 22,000 ตัว
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-12)
12/09/2566 : ดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนสิงหาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 3,096 ตัว เดือนกันยายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 978 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กันยายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 24,104 ตัว เป้าหมายของโครงการ การควบคุมการเพิ่มจำนวนสุนัขและแมว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยการผ่าตัดทำหมัน จำนวน 22,000 ตัว สามารถดำเนินการได้ทั้งสิน 24,104 ตัว ผลการดำเนินงานเกินกว่าเป้าหมายกำหนด ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-08-11)
11/08/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนกรกฎาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 2,700 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 20,030 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 79.00 (2023-07-12)
12/07/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนมิถุนายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 2,783 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 17,330 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 66.00 (2023-06-15)
15/06/2566 : ดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์เคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัข และแมวเดือนพฤษภาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 2,111 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว ตั้งแตเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนพฤษภาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ทั้งสิ้น จำนวน 14,547 ตัว...||
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...\\
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 56.00 (2023-05-15)
15/05/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนเมษายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 1,638 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - เมษายน 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 12,426 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 49.00 (2023-04-07)
07/04/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนมีนาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 1,841 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 10,623 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-15)
15/03/2566 : ดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 1,837 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 8,782 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 32.00 (2023-02-10)
10/02/2566 : ดำเนินการออกหน่วยสัตวแพทย์ฺเคลื่อนที่เพื่อผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว เดือนมกราคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 1,718 ตัว ผลการดำเนินการผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มกราคม 2566 ผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมวได้ จำนวน 6,945 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-30)
30/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการวางแผนการดำเนินงาน และประสานงานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการควบคุมการเพิ่มจำนวนสุนัขและแมว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **