ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย เป็นหน่วยบริการทางการแพทย์ที่ให้บริการกับประชาชน โดยมีการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ เช่น การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดโดยเครื่องตรวจเลือดจากปลายนิ้ว การตรวจหาเชื้อวัณโรคด้วยกล้องจุลทรรศน์ การตรวจหมู่เลือด การตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด และการตรวจ Anti HIV เป็นต้น ซึ่งผลการตรวจวิเคราะห์จะช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยโรค และการติดตามการรักษาของแพทย์ ดังนั้นผลการตรวจวิเคราะห์เหล่านี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีคุณภาพ คือ ความถูกต้อง บุคลากรที่มีศักยภาพมีส่วนสำคัญที่จะทำให้ความน่าเชื่อถือ และถูกต้องของการตรวจวิเคราะห์เกิดขึ้นได้ การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เป็นกระบวนการควบคุมคุณภาพภายนอกที่สำคัญของระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล ทำให้ทราบถึงศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน และสามารถสอบทวนกระบวนการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการศูนย์บริการสาธารณสุขได้ เป็นการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการของศูนย์บริการสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนโครงการมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) ในด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
08890000/08890000
๑. เพื่อพัฒนาบุคลากรทางห้องปฏิบัติการมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย (วัดโดยแบบทดสอบ) ๒. เพื่อให้บุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการได้อย่างมีคุณภาพมาตรฐานและถูกต้อง (ประเมินความถูกต้องคือได้ผลการตรวจวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์การยอมรับ ที่กำหนด) โดย ๒.๑ ประเมินคุณภาพการตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดโดยใช้เครื่องตรวจที่ศูนย์มีอยู่ (๓ ครั้ง/ปี) ๒.๒ ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์เชื้อวัณโรคโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ (๒ ครั้ง/ปี) ๒.๓ ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์หมู่เลือด (๓ ครั้ง/ปี) ๒.๔ ประเมินคุณภาพการตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด (Hematocrit) (๓ ครั้ง/ปี) ๒.๕ ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์หา Anti-HIV ด้วยชุดทดสอบแบบรวดเร็ว (Rapid Test) (๓ ครั้ง/ปี) ๒.๖ ประเมินความชำนาญ (Proficiency testing) ในการตรวจคัดกรองหายาบ้า (Methamphetamine) ในปัสสาวะ (๒ ครั้ง/ปี)
๓.๑ อบรมความรู้ด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการแก่ ข้าราชการศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง กองสร้างเสริมสุขภาพ และสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สังกัดสำนักอนามัย ดังนี้ ๑) กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการถึงชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนักวิชาการสาธารณสุข ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน ตำแหน่งพยาบาลเทคนิค และเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน ๑๕๐ คน ๒) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน ๙ คน ๓) วิทยากร จำนวน ๑ คน ๓.๒ ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการชันสูตรโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน ๖ กิจกรรมการตรวจวิเคราะห์
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City) |
๑.๕.๑ ความครอบคลุมในการจัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ% |
๑.๕.๑.๓ พัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-06)
06/09/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมาย ได้ดำเนินการดังนี้ - ดำเนินการจัดอบรม เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2565 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพ ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสิ้น 106,554.- บาท (จากที่ตั้งไว้ 125.600.-บาท เนื่องจากวิทยากร เป็นบุคลากรในหน่วยงาน) - บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.) 126 คน กองสร้างเสริมสุขภาพ 2 คน สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข 15 คน รวมผู้เข้า รับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน จากเป้าหมาย 149 คน คิดเป็น ร้อยละ 96 - มีบุคลากร จำนวน 126 คน จาก ศบส. 67 แห่ง เข้าร่วมการอบรม - บุคลากรจาก ศบส .2 แห่ง ได้แก่ ศบส. 18 จำนวน 2 คน และ ศบส. 32 จำนวน 1 คน ไม่ สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ - จำนวนผู้รับการอบรมสอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) หลังการอบรม 132 คน จากผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน คิดเป็นร้อยละ 92 - ศบส. จำนวน 67 แห่ง ที่มีบุคลากรเข้าร่วมการอบรม และ สอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) แห่งละ อย่างน้อย 1 คน มีจำนวน 67 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 (จากเป้าหมาย ร้อยละ 85) กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 58 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 60 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.5 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 98.7 ครั้งที่ 2 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.4 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 59 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 99.6 ครั้งที่ 3 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 30 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.4 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 59 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 99.7 กิจกรรม การตรวจสอบการควบคุมคุณภาพน้ำยา - ศูนย์ฯ ทั้ง 69 แห่ง มีการเก็บรักษาน้ำยาในอุณหภูมิ และ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตามที่ผู้ผลิตน้ำยากำหนด และไม่มีการใช้น้ำยาที่หมดอายุในการ ตรวจวิเคราะห์ การทวนสอบการปฏิบัติตรวจวิเคราะห์ - มีเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการตรวจวิเคราะห์ของศูนย์ฯ 69 แห่ง จำนวน 74 คน ทำข้อสอบเพื่อทวนสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตรวจ วิเคราะห์ พบว่าผลผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 80 ทั้งหมด 74 คน คิดเป็นร้อยละ 100//
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี//
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี//
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 92.00 (2023-08-16)
16/08/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 3 ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ก.ค.- ส.ค. 2566 ได้ประเมินผลการตรวจวิเคราะห์ และรายงานเรียบร้อยแล้ว รายการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 3 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 61 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.4 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 59 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 99.7 การตรวจสอบการควบคุมคุณภาพน้ำยา อยู่ระหว่างรวบรวมรายงาน การทวนสอบการปฏิบัติตรวจวิเคราะห์ อยู่ระหว่างรวบรวมรายงาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-21)
21/07/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ม.ค.- ก.พ. 2566 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 58 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 60 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.5 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 98.7 ครั้งที่ 2 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.4 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 59 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 99.6 ครั้งที่ 3 อยู่ระหว่างการเตรียมตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์//
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2023-06-16)
16/06/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ ๑ ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ม.ค.- ก.พ. 2566 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 58 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 60 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.5 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 98.7 ครั้งที่ 2 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.4 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 59 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 69 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 99.6
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 52.00 (2023-05-18)
18/05/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ม.ค.- ก.พ. 2566 ครั้งที่ 2 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 อยู่ระหว่างการรวบรวมรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ และประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์//
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 47.00 (2023-04-11)
11/04/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ม.ค.- ก.พ. 2566 รายการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 1 - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 58 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 60 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.5 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 98.7//
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 47.00 (2023-03-19)
19/03/2566 : รายละเอียดการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค สำนักอนามัย กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมาย ได้ดำเนินการดังนี้ - ดำเนินการจัดอบรม เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2565 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพ ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสิ้น 106,554.- บาท (จากที่ตั้งไว้ 125.600.-บาท เนื่องจากวิทยากร เป็นบุคลากรในหน่วยงาน) - บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.) 126 คน กองสร้างเสริมสุขภาพ 2 คน สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข 15 คน รวมผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน จากเป้าหมาย 149 คน คิดเป็น ร้อยละ 96 - มีบุคลากร จำนวน 126 คน จาก ศบส. 67 แห่ง เข้าร่วมการอบรม - บุคลากรจาก ศบส .2 แห่ง ได้แก่ ศบส. 18 จำนวน 2 คน และ ศบส. 32 จำนวน 1 คน ไม่ สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ - จำนวนผู้รับการอบรมสอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) หลังการอบรม 132 คน จากผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน คิดเป็นร้อยละ 92 - ศบส. จำนวน 67 แห่ง ที่มีบุคลากรเข้าร่วมการอบรม และ สอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) แห่งละ อย่างน้อย 1 คน มีจำนวน 67 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 (จากเป้าหมาย ร้อยละ 85) กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 และ สุ่มตรวจสไลด์ AFB ม.ค.- ก.พ. 2566 รายการตรวจวิเคราะห์ - HCT จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 61 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 58 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95 - Blood gr. จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 68 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - Anti - HIV จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 60 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - น้ำตาลปลายนิ้ว จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 68 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 98.5 - AFB จำนวนศูนย์ที่เข้าร่วม 19 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 98.7
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-16)
16/02/2566 : รายละเอียดการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ส่งตัวอย่างและประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ ๑ ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2565 ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมรายงานผล และ ประเมินผลต่อไป
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมาย ได้ดำเนินการดังนี้ - ดำเนินการจัดอบรมความรู้แก่บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส.) 126 คน กองสร้างเสริมสุขภาพ 2 คน สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข 15 คน รวมผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน จากเป้าหมาย 149 คน คิดเป็น ร้อยละ 96 - มีบุคลากร จำนวน 126 คน จาก ศบส. 67 แห่ง เข้าร่วมการอบรม - บุคลากรจาก ศบส .2 แห่ง ได้แก่ ศบส. 18 จำนวน 2 คน และ ศบส. 32 จำนวน 1 คน ไม่ สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ - จำนวนผู้รับการอบรมสอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) หลังการอบรม 132 คน จากผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 143 คน คิดเป็นร้อยละ 92 - ศบส. จำนวน 67 แห่ง ที่มีบุคลากรเข้าร่วมการอบรม และ สอบผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) แห่งละ อย่างน้อย 1 คน มีจำนวน 67 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 (จากเป้าหมาย ร้อยละ 85) กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ยังไม่ได้ดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขที่เข้าร่วมโครงการและผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (ผลลัพธ์)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.7
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **