ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
การฉีดฝังไมโครชิพเเละจดทะเบียนสุนัขเป็นการยืนยันตัวตนของสุนัขเเละระบุความเป็นเจ้าของ มีประโยชน์ต่อการตามหาเจ้าของให้กับสุนัขที่หลุดหายหรือหลงทาง การพัฒนาสายพันธุ์สุนัขและการประกวดในกลุ่มคนรักสัตว์ การป้องกันการซื้อ-ขายผิดตัว เเละมีส่วนสำคัญในการป้องกันการปล่อยทิ้งสุนัขให้เป็นสุนัขจรจัด ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาการเพิ่มจำนวน การเกิดโรคพิษสุนัขบ้า การก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญ ความไม่เป็นระเบียบเเละสวยงามของสิ่งเเวดล้อม หากประชาชนให้ความร่วมมือในการนำสุนัขมาฉีดฝังไมโครชิพเเละจดทะเบียนสุนัขจะทำให้ช่วยลดปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้
08060000/08060000
1. เพือให้ประชาชนนำสุนัขมาฉีดฝังไมโครชิพเเละจดทะเบียนสุนัข
ร้อยละ 80 ของสุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพย์ของสำนักอนามัยได้รับการจดทะเบียนสุนัข
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-12)
12/09/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ ของสำนักอนามัย เดือนสิงหาคม 2566 จำนวน 108 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 108 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - สิงหาคม 2566 ได้รับการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ จำนวน 826 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 766 ตัว ผลการดำเนินงานเกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ร้อยละ 80 ของสุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพย์ของสำนักอนามัยได้รับการจดทะเบียนสุนัข....||
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มีมี ...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 91.00 (2023-08-11)
11/08/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ ของสำนักอนามัย เดือนกรกฎาคม 2566 จำนวน 58 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 58 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กรกฎาคม 2566 ได้รับการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ จำนวน 718 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 658 ตัว....||
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-12)
12/07/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ ของสำนักอนามัย เดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 117 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 117 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 ได้รับการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ จำนวน 660 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 600 ตัว....||
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2023-06-15)
15/06/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ ของสำนักอนามัย เดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 113 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 113 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - พฤษภาคม 2566 ได้รับการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ฯ จำนวน 543 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 483 ตัว....||
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...||
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 86.00 (2023-05-15)
15/05/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ของสำนักอนามัย เดือนเมษายน 2566 จำนวน 108 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 108 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - เมษายน 2566 จำนวน 430 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 370 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-04-07)
07/04/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ของสำนักอนามัย เดือนมีนาคม 2566 จำนวน 81 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 81 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566 จำนวน 322 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 262 ตัว ...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-03-15)
15/03/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ของสำนักอนามัย เดือนกุมภาพันธ์2566 จำนวน 30 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 30 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 241 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 181 ตัว คิดเป็นร้อยละ 75.10...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2023-02-14)
14/02/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ของสำนักอนามัย เดือนมกราคม 2566 จำนวน 45 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 36 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มกราคม 2566 จำนวน 211 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 156 ตัว คิดเป็นร้อยละ 73.93...//
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : สุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์ของสำนักอนามัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2565 จำนวน 166 ตัว และได้รับการจดทะเบียนสุนัข จำนวน 120 ตัว คิดเป็นร้อยละ 72.29...//
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสุนัขมีเจ้าของที่เข้ารับบริการผ่าตัดทำหมันที่คลินิกสัตวแพทย์กรุงเทพมหานครได้รับการจดทะเบียนสุนัข
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 92.74
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **