ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
กองควบคุมโรคติดต่อ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) เป็นฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศเมื่อสัมผัสหรือสูดหายใจเข้าไปจะส่งผลทำให้ ไอ จาม มีน้ำมูก เจ็บคอ คัน และมีผื่นแดงตามร่างกายแสบคันตา และถ้าสัมผัสหรือสูดหายใจเข้าไปมากและต่อเนื่องอาจทำให้การทำงานของปอดลดลง การแลกเปลี่ยนอากาศน้อยลงช่วงระยะการหายใจสั้นหัวใจทำงานหนักมากขึ้นกว่าปกติและเกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ สาเหตุที่ทำให้เกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) เกิดจากการจราจรการคมนาคมขนส่ง การเผาขยะ เศษใบไม้ กิ่งใบไม้ในที่โล่งแจ้ง การก่อสร้างและโรงงานอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบกลุ่มเสี่ยงต่อการได้รับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ได้แก่ เด็ก นักเรียน ผู้สูงอายุ สตรีตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด และจากสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินมาตรฐานอย่างต่อเนื่องในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม ของทุกปี ทำให้เกิดปัญหาและผลกระทบด้านสุขภาพต่อประชาชนกรุงเทพมหานคร กองควบคุมโรคติดต่อ เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำแนวทางในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินค่ามาตรฐาน เพื่อให้บุคคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขซึ่งเป็นผู้ที่ใกล้ชิดประชาชนของกรุงเทพมหานครในเรื่องของสุขภาพมากที่สุด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
08080000/08080000
เพื่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขมีแนวทางในการปฏิบัติงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพในกรณีฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินค่ามาตรฐาน
ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข อาศัยอยู่ในชุมชนและผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน(BMA Home Ward) ได้รับหน้ากากอนามัยหรือความรู้ในการป้องกันตนเองจากผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 (PM2.5)
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-12)
12/09/2566 : โครงการดำเนินการแล้วเสร็จ กองควบคุมติดต่อประสานศูนย์บริการสาธารณสุขนำข้อมูลมาสรุปยอดและรายงานผลให้กับผู้บริหารทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-13)
13/08/2566 : อยู่ในระหว่างดำเนินการแจ้งเตือน ติดตาม กำกับให้ศูนย์บริการสาธารณสุขปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินงานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-17)
17/07/2566 : อยู่ในระหว่างดำเนินการแจ้งเตือน ติดตาม กำกับให้ศูนย์บริการสาธารณสุขปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินงานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-12)
12/06/2566 : อยู่ในระหว่างดำเนินการกำชับให้ศบส.ปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินงานที่กำหนดไว้ ศบส.ดำเนินการแจกหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เดือนพ.ค.66 จำนวน 118,355 ชิ้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-16)
16/05/2566 : อยู่ในระหว่างแจ้งเตือน ติดตามและกำชับให้ศูนย์บริการสาธารณสุขปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินงานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-12)
12/04/2566 : ติดตามสถานการณ์ของค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5), แจ้งเตือนสถานการณ์ของค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข, กำชับให้ศูนย์บริการสาธารณสุขปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินงานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
** ปัญหาของโครงการ :ยังไม่พบปัญหา
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-03-15)
15/03/2566 : ติดตามการออกหน่วยรณรงค์ป้องกันฝุ่นของศูนย์บริการสาธารณสุข
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : จัดทำแนวทางการดำเนินงานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) และจัดทำบันทึกส่งแนวทางให้ศูนย์บริการสาธารณสุข
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขและผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาศัยอยู่ในชุมชนได้รับหน้ากากอนามัยหรือได้รับความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากผลกระทบของฝุ่นละออง
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **