ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
กองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ปี 2547 กทม. การประปานครหลวง (กปน.) และบริษัทเอกชนได้ลงนามความร่วมมือกันในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ให้แก่ชาวกรุงเทพฯ ด้วยการติดตั้งตู้กดน้ำทั้งหมดประมาณ 387 จุด โดยทรัพย์สินตู้กดน้ำรวมถึงการบำรุงรักษาเป็นหน้าที่ ของบริษัทเอกชน ปัจจุบันสำนักจราจรและขนส่ง ทำหนังสือถึง กปน.ให้เร่งดำเนินการรื้อถอน โดย กปน.ได้ประสานไปยังบริษัทเอกชนให้ดำเนินการรื้อถอนให้ครบทุกจุด เพื่อที่สำนักจราจรและขนส่งกรุงเทพฯ จะได้ดำเนินการคืนทางเท้าและปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองให้แก่ประชาชน ที่มาของคำสั่งรื้อถอนมาจากสาเหตุหลัก 2 ประการ ได้แก่ 1. ที่ผ่านมามีผู้ใช้งานน้อย เนื่องจากมีคำถามเกี่ยวกับคุณภาพน้ำและความสะอาด อย่างไรก็ตามกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง เช่น คนขับแท็กซี่ ผู้ค้าแผงลอย ยังพึ่งพาตู้กดน้ำเหล่านี้อยู่ 2. ตำแหน่งติดตั้งกีดขวางการสัญจรทางเท้า ทั้งนี้ข้อมูลจากหลายบทสัมภาษณ์สะท้อนว่าหากตู้กดน้ำเหล่านี้มีการปรับปรุงคุณภาพ ประชาชนก็มีความต้องการใช้งาน ดังนั้น กทม.จะทบทวนการรื้อถอนดังกล่าว ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพตู้กดน้ำและน้ำดื่ม ให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1. วิธีการจ่ายน้ำ อาจจะปรับให้เป็นลักษณะการเติมน้ำลงขวดแทน 2. ก าหนดรอบการทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 3. ปรับตำแหน่งที่ไม่กีดขวางทางเท้า อาจจะตั้งให้ขนานกับทางเท้าชิดแนวขอบทางเท้าด้านใดด้านหนี่งแทน 4. พิจารณาเสริมในบริเวณจุดจอดจักรยาน และชุมชนต่าง ๆ
10090000/10090000
1. ได้เข้าถึงน้ำดื่มสะอาด ปลอดภัย ที่มีคุณภาพฟรี 2. ลดภาระค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน
ปี 2566 สำรวจจุดติดตั้งน้ำประปาดื่มได้จากกลุ่ม City Run
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-08-29)
29/08/2566 : - อยู่ระหว่างติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานของสำนักสิ่งแวดล้อม , - อยู่ระหว่างประสานการประปานครหลวงในการดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 28.00 (2023-07-31)
31/07/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-30)
30/06/2566 : อยู่ระหว่างทำหนังสือเสนอผู้บริหารพิจารณามอบหมายหน่วยงานในการติดตั้งตู้น้ำดื่มสะอาดฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-30)
- กทม. ร่วมกับมูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ่งแวดล้อม (EJF) ในการกำหนดรูปแบบมาตรฐานสำหรับการติดตั้งจุดบริการน้ำดื่ม โดยมูลนิธิฯ ได้ประมาณการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องบริการน้ำดื่มไว้ประมาณ 38,000 บาทต่อเครื่องต่อปี แบ่งเป็นค่าไส้กรอง ค่าไฟ และ ค่าน้ำ โดยพื้นที่นำร่องที่จะดำเนินการติดตั้งได้แก่ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง (อาคารสำนักการโยธา) พื้นที่ตาม BBKK Trail เส้นทางละ 1 - 2 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-04-30)
30/04/2566 : เป็นนโยบายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักสิ่งแวดล้อมตามที่ ผว.กทม. ได้สั่งการในการประชุมหารือความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร และการประปานครหลวง เมื่อวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2565 เวลา 14.00 - 15.00 น. ณ ห้องประชุมปิยราษฎร์ ชั้น 6 อาคารสำนักงานใหญ่ การประปานครหลวง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-31)
อยู่ระหว่างดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : อยู่ระหว่างสำนักสิ่งแวดล้อมดำเนินการ (กปน.สนับสนุนจุดน้ำดื่ม จำนวน 100 จุด โดยขอให้ กทม.ระบุจุดติดตั้งน้ำดื่ม ซึ่ง สนย.กำหนดจากกลุ่ม City Run)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-31)
31/01/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : (ปี 2566) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 84.67
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **