ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการพัฒนาระบบประเมินปริมาณฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ (กสน.) : 11000000-6997

สํานักการระบายน้ำ : (2565)

1

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 1

กองสารสนเทศระบายน้ำ

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

สำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการนำเครื่องมือที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ และโต้ตอบ (Control-Monitor-Forecast-Interact) อันจะส่งผลให้ระบบระบายน้ำของกรุงเทพมหานครทำงานได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและผลกระทบจากการเกิดน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้อย่างยั่งยืน ฝนที่ตกหนักเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นในการบริหารจัดการน้ำท่วมที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องมีข้อมูลการประเมินฝนและการพยากรณ์ฝนที่มีความถูกต้องแม่นยำ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบายน้ำ รวมทั้งเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารจัดการน้ำท่วม เทคนิคการสำรวจระยะไกลด้วยเรดาร์ตรวจอากาศได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อนำมาใช้ในการตรวจวัดฝน เนื่องจากเรดาร์ตรวจอากาศสามารถให้ข้อมูลรายละเอียดของฝนครอบคลุมพื้นที่ที่อยู่ภายใต้รัศมีของเรดาร์และสามารถทำการตรวจวัดฝนได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถให้ความละเอียดของข้อมูลฝนในเชิงพื้นที่ได้ละเอียดถึง o.๕ x o.๕ ตารางกิโลเมตร และสามารถตรวจวัดข้อมูลฝนได้ทุกๆ ๕ นาที ข้อมูลตรวจวัดฝนจากเรดาร์ยังสามารถนำมาใช้ได้ในทันทีหรือมีฝนตก นอกจากนี้ข้อมูลที่วัดได้จากเรดาร์ยังมีศักยภาพเพียงพอที่จะถูกนำไปใช้ในการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำท่วมได้ในลำดับต่อไป

11080000/11080000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. เพื่อจัดทำระบบประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ด้วยเรดาร์ตรวจอากาศ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลจากเรดาร์ ๒ สถานีร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วยสถานีเรดาร์หนองจอก และสถานีเรดาร์หนองแขม โดยวิธี Composite Radar Reflectivity ให้สามารถประเมินข้อมูลฝนเชิงพื้นที่ในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานครได้ ๒ เพื่อเชื่อมโยงระบบการประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง เข้ากับระบบบริหารจัดการน้ำท่วมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมแบบ Realtime เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำท่วม การประชาสัมพันธ์และการเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

เป้าหมายของโครงการ

๑ การประยุกต์ใช้ข้อมูลตรวจวัดปริมาณฝนด้วยเรดาร์ตรวจอากาศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒ มีระบบประเมินปริมาณฝนและคาดการณ์ฝนล่วงหน้า๑-๓ ชั่วโมงที่มีความแม่นยำ น่าเชื่อถือ และได้มาตรฐานในระดับสากล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-09-20)

1.00

20/09/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-08-26)

1.00

26/08/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-07-19)

1.00

19/07/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-06-22)

1.00

22/06/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-05-20)

1.00

20/05/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-04-27)

1.00

27/04/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-03-25)

1.00

ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-02-22)

1.00

22/02/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2022-01-24)

1.00

24/01/2565 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2021-12-24)

1.00

24/12/2564 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2021-11-28)

1.00

28/11/2564 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-10-27)

5.00

27/10/2564 : ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณในปี 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1.เตรียมการ
:5.00%
เริ่มต้น :2021-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2.ขออนุมัติดำเนินการ
:10.00%
เริ่มต้น :2021-10-16 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-16 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3.จัดทำข้อกำหนดของงาน
:15.00%
เริ่มต้น :2021-10-31 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-31 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4.จัดหาผู้รับจ้าง
:10.00%
เริ่มต้น :2021-12-02 00:00:00
สิ้นสุด :2021-12-02 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5.ขออนุมัติจ้างและลงนามสัญญา
:10.00%
เริ่มต้น :2022-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6.ดำเนินการตามสัญญา
:50.00%
เริ่มต้น :2022-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-02-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 11000000-6997

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 11000000-6997

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 1100-6507

ตัวชี้วัด : (2565) ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (ผลผลิต) (กสน.)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
93.00

100 / 100
2
97.00

100 / 100
3
99.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **