ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมคุณภาพน้ำ2
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครตระหนักถึงปัญหามลภาวะทางน้ำในกรุงเทพมหานคร จึงได้พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา น้ำเน่าเสีย ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ ดำเนินการโครงการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย และการซ่อมบำรุงรักษาระบบท่อรวบรวมน้ำเสียของโรงควบคุมคุณภาพน้ำใหญ่ที่เปิดดำเนินการแล้ว 8 โรง คือ โรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยา รัตนโกสินทร์ ดินแดง ช่องนนทรี หนองแขม ทุ่งครุ จตุจักร และศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ กรุงเทพมหานคร มีขีดความสามารถในการบำบัดน้ำเสียรวม 1,112,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยา ตั้งอยู่ปากคลองผดุงกรุงเกษม ถนนสี่พระยา เขตบางรัก พื้นที่บริการบำบัดน้ำเสีย 2.7 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สัมพันธวงศ์ และบางรัก สามารถบำบัดน้ำเสียได้ 30,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ความยาวของท่อรวบรวม น้ำเสีย 2.3 กิโลเมตร กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบ Contact Stabilization Activated Sludge เริ่มเดินระบบบำบัด เมื่อปี พ.ศ. 2537
11130000/11130000
1. เพื่อผลักดันโรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยาสู่เป้าหมายรวมตามแผนงาน และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบระบายน้ำและบำบัดน้ำเสียของสำนักการระบายน้ำ 2. เพื่อจัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านการบำบัดน้ำเสียอย่างถูกวิธี ให้แก่ประชาชน, นักศึกษาและผู้สนใจในการแก้ปัญหามลพิษทางน้ำ รวมทั้งช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. เผยแพร่ความรู้และสร้างจิตสำนึกด้านการบำบัดน้ำเสียและการอนุรักษ์คูคลองแก่ประชาชนนักศึกษาและเยาวชน 4. เพื่อให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปลอดภัยจากมลพิษทางน้ำและทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าอยู่ยิ่งขึ้น
เพื่อจัดการคุณภาพน้ำในพื้นที่ปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานก่อนการปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติโดยการเดินระบบบำรุงรักษาและบริหารจัดการโรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยาอย่างต่อเนื่องให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตามงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่% |
๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)
25/09/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนสิงหาคม 66 เท่ากับ 15,093 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 15.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กันยายน 66 เท่ากับ 10,125 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ -- มิลลิกรัมต่อลิตร ข้อมูล ณ วันที่ 20 กันนายน 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2023-08-01)
01/08/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนสิงหาคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-06-26)
26/06/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนพฤษภาคม 66 เท่ากับ 12,993 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 64.00 (2023-05-31)
อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน เมษายน 66 เท่ากับ 13,105 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 15 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 56.00 (2023-04-26)
26/04/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มีนาคม 66 เท่ากับ 12,933 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 17.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-03-21)
21/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กุมภาพันธ์ 66 เท่ากับ 13,061 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 13.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ 11,644 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 12.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 32.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ 11,126 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 14.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : (2566) ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.2
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **