ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน (สจน.) : 11000000-7205

สํานักการระบายน้ำ : (2566)

10

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 10

นายปธาน บรรจุปรุ (โทร.2324)

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครประสบปัญหามลพิษทางน้ำมาอย่างยาวนานเห็นได้จากสภาพน้ำในคูคลองที่มี สีดำส่งกลิ่นเน่าเหม็น ประกอบกับขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งทับถมลงในคูคลองต่าง ๆ เป็นจำนวนมากทำให้สภาพ ความเน่าเสียในคูคลองที่เป็นอยู่รุนแรงมากยิ่งขึ้น สาเหตุสำคัญเกิดจากประชาชนจำนวนมากที่กระจุกตัวอยู่อย่างหนาแน่นในชุมชนทั้งเพื่อการอยู่อาศัย ทำธุรกิจ ในอาคาร สถานประกอบการ ฯลฯ ประกอบกิจกรรมอันก่อให้เกิดน้ำเสียในปริมาณมากแต่ละวัน และน้ำเสียส่วนใหญ่ถูกทิ้งลงสู่คูคลอง และแหล่งน้ำ โดยไม่ได้รับการบำบัดอย่าง ถูกวิธี ทำให้เกิดน้ำทิ้งที่ไม่ได้มาตรฐานเพียงพอ โดยเฉพาะพื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นศูนย์รวมทั้งเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม และความเจริญด้านต่าง ๆ ผลคือ แหล่งน้ำคูคลองกลายสภาพเป็นแหล่งรองรับ น้ำเสียที่เกิดขึ้นทุกวันในปริมาณมาก ๆ จนธรรมชาติไม่สามารถฟื้นฟูสภาพได้ จึงเกิดเป็นสภาวะมลพิษทางน้ำ ที่รุนแรงเป็นที่ประจักษ์ทั่วทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครทางกรุงเทพมหานครมีมาตรการแก้ไขโดยการก่อสร้างตาม แผนแม่บท การจัดการน้ำเสียของกรุงเทพมหานครเป็นแนวทางในการดำเนินการ ซึ่งจัดทำขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างสำนักการระบายน้ำและองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) ในปี พ.ศ.2554 ได้เสนอแนะให้มีการแบ่งพื้นที่การดำเนินโครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียออกเป็น 27 โซน แต่เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องงบประมาณในการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียและระบบท่อรวบรวมน้ำเสีย ซึ่งไม่ได้งบประมาณจากรัฐบาล ทำให้โครงการบำบัดน้ำเสียเกิดความล่าช้า โดยกรุงเทพมหานครใช้งบประมาณการก่อสร้างระบบรวบรวมน้ำเสีย และระบบบำบัดน้ำเสียที่เปิดดำเนินการแล้วทั้ง 8 แห่งในปัจจุบัน ถึง 26,578 ล้านบาท ขณะเดียวกันกรุงเทพมหานครยังต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการเดินระบบบำบัดน้ำเสียและบำรุงรักษาระบบทั้ง 8 แห่ง ประมาณปีละ 600 ล้านบาท มายาวนานนับตั้งแต่เริ่มเปิดเดินระบบ ปัจจุบันโครงการบำบัดน้ำเสียที่กรุงเทพมหานครอยู่ในระหว่างดำเนินการ ซึ่งมีผลการศึกษาความเหมาะสม และพร้อมเข้าสู่กระบวนการออกแบบก่อสร้าง มี 3 แห่ง คือ โครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน โครงการบำบัดน้ำเสียคลองเตย และโครงการบำบัดน้ำเสียธนบุรี จึงเห็นว่าโครงการดังกล่าวสามารถเสนอเข้าสู่กระบวนการ ให้เอกชนร่วมลงทุนกับภาครัฐต่อไปคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ โดยได้รับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ได้พิจารณาให้โครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอนเป็นหนึ่งในกิจการของรัฐที่ส่งเสริมให้เอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุน (opt-in) ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (พ.ศ.2558-2562) โดยให้กรุงเทพมหานครดำเนินการตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ.2556 และเมื่อพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ได้ส่งผลให้โครงการบำบัดน้ำเสียดังกล่าวยังคงต้องดำเนินต่อไปภายใต้พระราชบัญญัติฉบับใหม่ล่าสุด กรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินการให้โครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอนขึ้น ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินการในโครงการบำบัดน้ำเสียนี้ ที่ปรึกษาจะต้องศึกษา จัดทำรายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการให้เป็นไปตามกรอบรายละเอียดที่กำหนด ซึ่งจะถูกระบุไว้ในขอบเขตงาน(TOR) ฉบับนี้ เพื่อให้ที่ปรึกษาเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสม ในการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนสำหรับการดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562

11131030/11131030

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เป้าหมายของโครงการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-09-25)

10.00

25/09/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-08-27)

10.00

27/08/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-07-21)

10.00

21/07/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 9.00 (2023-06-20)

9.00

20/06/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-05-29)

10.00

29/05/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-04-21)

10.00

21/04/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-29)

10.00

29/03/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-02-27)

10.00

27/02/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-30)

10.00

30/01/2566 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-29)

10.00

29/12/2565 : ดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร.

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:แผนการจัดซื้อจัดจ้าง และเตรียมการ
:100.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 11000000-7205

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 11000000-7205

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 1100-6526

ตัวชี้วัด : ปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถรองรับได้ (สจน.)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร : 45

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร : 46.59

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
46.59

100 / 100
2
46.59

0 / 0
3
46.59

100 / 100
4
46.59

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **