ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมน้ำเสีย และระบบบำบัดน้ำเสียธนบุรี สัญญาที่ 2 งานก่อสร้างระบบรวบรวมน้ำเสียพื้นที่ส่วนเหนือ (เขตบางพลัด และบางส่วนของเขตตลิ่งชันและเขตบางกอกน้อย) (สจน.) : 11000000-7214

สํานักการระบายน้ำ : (2566)

72

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 72

นายปธาน บรรจงปรุ (โทร. 2324)

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครมีการวางแผนและดำเนินการแก้ไขปัญหาความเน่าเสียของน้ำในคูคลองและแม่น้ำอย่างต่อเนื่อง โดยการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมและปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียเคหะชุมชน โดยปัจจุบันมีระบบบำบัดน้ำเสียซึ่งเปิดดำเนินการแล้วเป็นระบบรวม 8 แห่ง และระบบชุมชน 12 แห่งมีขีดความสามารถในการบำบัดน้ำเสียรวมทั้งหมดประมาณ 1,136,800 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คิดเป็นประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครทั้งหมด และยังมีโครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมขนาดใหญ่ที่กำลังอยู่ระหว่างดำเนินการอีก 4 โครงการ ได้แก่ โครงการบำบัดน้ำเสียมีนบุรี บึงหนองบอน คลองเตย และธนบุรีซึ่งเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะสามารถบำบัดน้ำเสียเพิ่มขึ้นอีก 665,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน รวมขีดความสามารถทั้งหมด 1,801,800 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คิดเป็นประมาณร้อยละ 70 ของปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร สำหรับโครงการบำบัดน้ำเสียธนบุรี ได้ดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาน้ำเสียและรองรับการเจริญเติบโตของพื้นที่ชานเมืองที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะพื้นที่ชุมชนเขตบางพลัด เขตบางกอกใหญ่ และเขตบางกอกน้อย ซึ่งน้ำเสียที่เกิดจากการประกอบกิจกรรมประจำวันจากบ้านเรือนและสถานประกอบการต่างๆ ยังไหลลงคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ คลองบางขุนนนท์ คลองมอญ คลองบางบำหรุ และแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้เกิดภาวะน้ำเน่าเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดต่างๆ ในชุมชนริมคลองสายหลักของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบรวบรวมน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียธนบุรี พร้อมออกแบบสวนสาธารณะในพื้นที่ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียให้ใช้ประโยชน์ร่วมกันบนพื้นที่ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย บริเวณริมคลองวัดไชยทิศ เขตบางกอกน้อย ขนาดพื้นที่ 5 ไร่ 3 งาน 54 ตารางวา ตามขอบเขตของงาน (TOR) โดยดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2562 ผลการศึกษาเสนอแนะให้มีการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย ขนาดบำบัดน้ำเสีย 160,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน ครอบคลุมพื้นที่บริการ 36.44 ตารางกิโลเมตร เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และสามารถแก้ไขปัญหา น้ำเน่าเสีย ตลอดจนเพื่อฟื้นฟูคุณภาพน้ำของคลองต่างๆ ในพื้นที่เขตดังกล่าวรวมทั้งแม่น้ำเจ้าพระยาให้ดีขึ้น จึงดำเนินโครงการก่อสร้างระบบรวบรวมน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียธนบุรี เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น ตลอดจนบูรณาการการบำบัดน้ำเสียร่วมกับการสร้างพื้นที่สีเขียวหรือสวนสาธารณะในพื้นที่โครงการอีกด้วย

11131030/11131030

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ คลองบางขุนนนท์ คลองมอญ คลองบางบำหรุ และแม่น้ำเจ้าพระยา ในพื้นที่ชุมชนเขตบางพลัด บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ และบางส่วนของเขตตลิ่งชัน ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 36.44 ตารางกิโลเมตร และปรับปรุงสภาพแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งใช้เป็นสวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ

เป้าหมายของโครงการ

เพื่อก่อสร้างระบบรวบรวมน้ำเสียพื้นที่ส่วนเหนือ (เขตบางพลัด และบางส่วนของเขตตลิ่งชันและ เขตบางกอกน้อย) คิดเป็นพื้นที่รับน้ำเสียประมาณ 22.32 ตารางกิโลเมตร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-09-25)

72.00

25/09/2566 : อยู่ระหว่างการดำเนินงานตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 71.00 (2023-08-27)

71.00

27/08/2566 : อยู่ระหว่างการดำเนินงานตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-21)

70.00

21/07/2566 : อยู่ระหว่างการดำเนินงานตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 69.00 (2023-06-20)

69.00

20/06/2566 : อยู่ระหว่างการดำเนินงานตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 68.00 (2023-05-29)

68.00

29/05/2566 : อยู่ระหว่างการดำเนินงานตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2023-04-21)

67.00

21/04/2566 : ดำเนินการตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 66.00 (2023-03-29)

66.00

29/03/2566 : ดำเนินการตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 64.00 (2023-02-27)

64.00

27/02/2566 : ดำเนินการตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 62.00 (2023-01-30)

62.00

30/01/2566 : ดำเนินการตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2022-12-29)

60.00

29/12/2565 : ดำเนินการตามสัญญา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ดำเนินการตามสัญญา
:100.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 11000000-7214

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 11000000-7214

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 1100-6526

ตัวชี้วัด : ปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถรองรับได้ (สจน.)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร : 45

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร : 46.59

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
46.59

100 / 100
2
46.59

0 / 0
3
46.59

100 / 100
4
46.59

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **