ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ส่วนปฏิบัติการจัดการคุณภาพน้ำ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครตระหนักถึงปัญหามลภาวะทางน้ำในกรุงเทพมหานคร จึงได้พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ ดำเนินการโครงการเดินระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็กที่กรุงเทพมหานครก่อสร้างเอง จำนวน 2 แห่ง คือ โรงควบคุมคุณภาพน้ำพระราม 9 และบึงมักกะสัน โรงควบคุมคุณภาพน้ำพระราม 9 ตังอยู่บริเวณเลียบทางด่วนอินทรา-อาจณรงค์ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่บริการบำบัดน้ำเสียจากคลองลาดพร้าวตอนต้น และบ้านเรือน จำนวน 500 หลังคาเรือน รอบบึงพระราม 9 ครอบคลุมพื้นที่ 53 ไร่ ความสามารถในการบำบัดน้ำเสีย 86,400 ลบ.ม./วัน ใช้กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบ Aerated Lagoon เดินระบบบำบัดน้ำเสียโดย กทม. ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2532
11132010/11132010
๑.เพื่อผลักดันโรงควบคุมคุณภาพน้ำรัตนโกสินทร์สู่เป้าหมายรวมตามแผนงาน และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบระบายน้ำและบำบัดน้ำเสียของสำนักการระบายน้ำ ๒. เพื่อจัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านการบำบัดน้ำเสียอย่างถูกวิธี ให้แก่ประชาชน นักศึกษา และผู้สนใจในการแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ รวมทั้งช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๓. เผยแพร่ความรู้และสร้างจิตสำนึกด้านการบำบัดน้ำเสียและการอนุรักษ์คูคลอง แก่ประชาชน นักศึกษา และเยาวชน ๔. เพื่อให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปลอดภัยจากมลพิษทางน้ำ และทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าอยู่ยิ่งขึ้น
เพื่อจัดการคุณภาพน้ำในพื้นที่ปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติโดยการเดินระบบบำรุงรักษาและบริหารจัดการโรงควบคุมคุณภาพน้ำอย่างต่อเนื่องให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตามงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่% |
๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)
25/09/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนสิงหาคม 2566 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2023-08-29)
29/08/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-30)
30/07/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มิถุนายน 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-06-28)
28/06/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤษภาคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไมีมี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไมีมี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 64.00 (2023-05-29)
29/05/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤษภาคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 56.00 (2023-04-25)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 25/04/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-03-31)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 36.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : (2566) ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.2
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **