ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ส่วนปฏิบัติการจัดการคุณภาพน้ำ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครตระหนักถึงปัญหามลภาวะทางน้ำในกรุงเทพมหานคร จึงได้พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา น้ำเน่าเสีย ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ ดำเนินการโครงการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย และการซ่อมบำรุงรักษาระบบท่อรวบรวมน้ำเสียของโรงควบคุมคุณภาพน้ำใหญ่ที่เปิดดำเนินการแล้ว 8 โรง คือ โรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยา รัตนโกสินทร์ ดินแดง ช่องนนทรี หนองแขม ทุ่งครุ จตุจักร และศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ กรุงเทพมหานคร มีขีดความสามารถในการบำบัดน้ำเสียรวม 1,112,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โรงควบคุมคุณภาพน้ำจตุจักร ตั้งอยู่บริเวณริมคลองบางซื่อ ในซอยอินทามระ 35 เขตจตุจักร พื้นที่บริการบำบัดน้ำเสีย 33.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่เขตจตุจักร พญาไท ห้วยขวาง และเขตดินแดง สามารถบำบัดน้ำเสียได้ 150,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ความยาวท่อรวบรวมน้ำเสีย 37.5 กิโลเมตร กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบ Cyclic Activated Sludge System เริ่มเดินระบบบำบัด เมื่อปี พ.ศ. 2548 เพื่อให้การบริหารจัดการ ควบคุม ดูแล และเดินระบบบำบัดน้ำเสียเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับการบริหารงบประมาณและอัตรากำลังของบุคลากรที่จะเดินระบบบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมไม่มีการเพิ่มอัตรากำลังในการเดินระบบ จึงต้องมีการจ้างเอกชนเดินระบบ โดยบริษัท GEM & Gusco เดินระบบเป็นระยะเวลา 5 ปี ตามสัญญาจ้าง
11132010/11132010
เพื่อรวบรวมน้ำเสียในพื้นที่บริการบำบัดน้ำเสีย มาทำการบำบัดน้ำเสียที่โรงควบคุมคุณภาพน้ำจตุจักร ให้ได้มาตรฐานจามกฏหมายที่กำหนด
ผู้รับจ้างสามารถรวบรวมน้ำเสีย และเดินระบบบำบัดน้ำเสียของโรงควบคุมคุณภาพน้ำจตุจักร พื้นที่บริการ 33.40 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่เขตจตุจักร และบางส่วนของเขตพญาไท ดินแดง ห้วยขวาง ความสามารถในการบำบัดน้ำเสีย 150,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เดินระบบำบัดน้ำเสียด้วยระบบ Cyclic Activated Sludge System (CASS) และระบบหมักตะกอนแบบไม่ใช้อากาศ (Anarerobic Digestion) ขนาด 94 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน (20% Dry Solids) ระบบท่อรวบรวมน้ำเสีย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 140 มิลลิเมตร ถึง 2,500 มิลลิเมตร รวมความยาว 37.50 กิโลเมตร มีบ่อดักน้ำเสีย (interceptor Point Chamber) จำนวน 181 บ่อ บ่อพักท่อรวบรวมน้ำเสีย (Manholes) จำนวน 201 บ่อ และสถานีสูบส่งน้ำเสียย่อย 13 แห่ง
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่% |
๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)
25/09/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนสิงหาคม 2566 เท่ากับ 149,846.94 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 6.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2023-08-29)
29/08/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 146,216.17 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 3.36 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-30)
30/07/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนมิถุนายน 2566 เท่ากับ 146,216.17 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.8 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-06-28)
28/06/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤษภาคม 6ุ6 เท่ากับ148,278 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.80 มิลลิกรัม
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 64.00 (2023-05-31)
31/05/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤษภาคม 6ุ6 เท่ากับ 147,688.87 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 13.60 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 56.00 (2023-04-20)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 12.00 มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 11.20 มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 22.00 มิลลิกรัมต่อลิตร 17/03/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กุมภาพันธ์ 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.60 มิลลิกรัมต่อลิตร 20/04/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มีนาคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.70 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-03-31)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ 149,976.80 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.6 มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ 131,950.45 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.0 มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ 148,070.19 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กุมพาพันธ์ 66 เท่ากับ 150,176.86 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 10.6 มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 66 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 36.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : (2566) ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.2
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **