ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการจ้างเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ ศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ ระยะที่ 2(สจน.) : 11000000-7255

สํานักการระบายน้ำ : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ส่วนปฏิบัติการจัดการคุณภาพน้ำ

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครตระหนักถึงปัญหามลภาวะทางน้ำในกรุงเทพมหานคร จึงได้พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา น้ำเน่าเสีย ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ ดำเนินการโครงการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย และการซ่อมบำรุงรักษาระบบท่อรวบรวมน้ำเสียของโรงควบคุมคุณภาพน้ำใหญ่ที่เปิดดำเนินการแล้ว 8 โรง คือ โรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยา รัตนโกสินทร์ ดินแดง ช่องนนทรี หนองแขม ทุ่งครุ จตุจักร และศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ กรุงเทพมหานคร มีขีดความสามารถในการบำบัดน้ำเสียรวม 1,112,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณสวนวชิรเบญทัศ (สวนรถไฟ) ทางด้านติดกับถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พื้นที่บริการบำบัดน้ำเสีย 20.70 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่เขตบางซื่อ บางส่วนของเขตจตุจักร พญาไท และดุสิต สามารถบำบัดน้ำเสียได้ 120,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ความยาวท่อรวบรวมน้ำเสีย 43 กิโลเมตร บำบัดน้ำเสียด้วยระบบ Activated Sludge โดยมีกระบวนการทางชีวภาพแบบ Step-Feed Biological Nutrient Removal (Step-Feed BNR) เริ่มเดินระบบบำบัด เมื่อปี พ.ศ. 2556 เพื่อให้การบริหารจัดการ ควบคุม ดูแล และเดินระบบบำบัดน้ำเสียเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับการบริหารงบประมาณและอัตรากำลังของบุคลากรที่จะเดินระบบบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมไม่มีการเพิ่มอัตรากำลังในการเดินระบบ จึงต้องมีการจ้างเอกชนเดินระบบ โดยบริษัท Getco เดินระบบเป็นระยะเวลา 5 ปี ตามสัญญาจ้าง

11132010/11132010

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเดินระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพน้ำทิ้งได้ตามเกณฑ์ข้อกำหนด ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะแก่แหล่งน้ำสาธารณะ 2. เพื่อบำรุงรักษาระบบรวบรวมน้ำเสีย ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบไฟฟ้าสื่อสาร เครื่องจักรกลและเครื่องมือวัดต่างๆ ให้มีสภาพพร้อมใช้งานและสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อบริหารจัดการงานอาคาร การใช้อาคาร การดูแลพื้นที่ทั้งหมดภายในและภายนอกอาคาร รวมไปถึงการบำรุงรักษาสวนอุทยานไม้น้ำ 4. เพื่อการแก้ไขปัญหาและข้อร้องเรียนต่างๆ

เป้าหมายของโครงการ

เพื่อจัดการคุณภาพน้ำในพื้นที่ปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานก่อนการปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติโดยการเดินระบบ บำรุงรักษาและบริหารจัดการศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตามงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่%
๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)

100.00

25/09/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนสิงหาคม 2566 เท่ากับ 125,933 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 6.10 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 94.00 (2023-08-29)

94.00

29/08/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนกรกฎาคม 2566 เท่ากับ 125,940 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 5.8 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 86.00 (2023-07-30)

86.00

30/07/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือนมิถุนายน 2566 เท่ากับ 125,909 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 5.10 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 78.00 (2023-06-28)

78.00

28/06/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤษภาคม 6ุ6 เท่ากับ125,418 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 5.1 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-29)

70.00

29/05/2566 : :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มีนาคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 6.83 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 62.00 (2023-04-20)

62.00

31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 8.70 มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 6.40 มิลลิกรัมต่อลิตร 17/03/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กุมภาพันธ์ 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 7.80 มิลลิกรัมต่อลิตร 20/04/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มีนาคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 7.70 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :*ไม่มี/ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 54.00 (2023-03-17)

54.00

31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร 31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 8.70 มิลลิกรัมต่อลิตร 28/02/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน มกราคม 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 6.40 มิลลิกรัมต่อลิตร 17/03/2566 :อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน กุมภาพันธ์ 6ุ6 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 7.80 มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 36.00 (2023-01-31)

36.00

31/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน ธันวาคม 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-31)

24.00

31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ยเข้าระบบบำบัด เดือน พฤศจิกายน 65 เท่ากับ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คุณภาพน้ำที่บำบัดแล้วใต้จุดปล่อยน้ำระยะ 100 เมตร มีค่าบีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ มิลลิกรัมต่อลิตร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ดำเนินการเดินระบบำบำัดน้ำเสีย
:100.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 11000000-7255

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 11000000-7255

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 1100-6536

ตัวชี้วัด : (2566) ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.2

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
24.00

100 / 100
2
48.00

0 / 0
3
72.40

100 / 100
4
99.20

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **