ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 10
ส่วนวิชาการจัดการคุณภาพน้ำ (กลุ่มงานวิเคราะห์คุณภาพน้ำ)
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ปี ๒๕๓๗ ได้มีการจัดมาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินเป็น ๕ ประเภท ดังนี้ แหล่งน้ำประเภทที่ ๑ ได้แก่ แหล่งน้ำที่มีสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากน้ำทิ้งจากกิจกรรมทุกประเภท ใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภค (ผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติก่อน) ขยายพันธุ์ตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ระดับพื้นฐาน และการรักษาระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ำ แหล่งน้ำประเภทที่ ๒ ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท สามารถใช้ประโยชน์เพื่อ การอุปโภคบริโภค (ผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน) การประมง การว่ายน้ำ และกีฬาทางน้ำ แหล่งน้ำประเภทที่ ๓ ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท สามารถใช้ประโยชน์เพื่อ การอุปโภคบริโภค (ผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน) และการเกษตร แหล่งน้ำประเภทที่ ๕ ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภค บริโภค (ผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำเป็นพิเศษก่อน) และการอุตสาหกรรม งน้ำประเภทที่ ได้แก่ แหล่งน้ำได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถใช้ประโยชน์เพื่ และได้มีการกำหนดค่ามาตรฐานทางกายภาพและสิ่งเจือปนในน้ำของแหล่งน้ำแต่ละประเภท ซึ่งการจัด ประเภทแหล่งน้ำดังกล่าวยากแก่การเข้าใจของประชาชนทั่วไป ทางกรมควบคุมมลพิษได้จัดทำค่าดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าใจง่ายขึ้น โดยแบ่งเกณฑ์คุณภาพน้ำเป็น ดี พอใช้ เสื่อมโทรม และเสื่อมโทรมมาก โดยใช้บางพารามิเตอร์ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของแหล่งน้ำนั้น ๆ แหล่งน้ำผิวดินในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีทั้งบึง คู คลองทั้งที่เกิดโดยธรรมชาติและการขุด หากพิจารณาตาม เกณฑ์มาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินจะพบว่าคุณภาพน้ำคลองส่วนใหญ่ในกรุงเทพมหานครจัดอยู่ในแหล่งน้ำประเภท ๕ บางส่วนเป็นแหล่งน้ำประเภทที่ ๕ และเมื่อเทียบกับดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไปจัดอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมและเสื่อมโทรมมาก อย่างไรก็ตาม จุดประสงค์การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำของกรุงเทพมหานครเป็นไปเพื่อการคมนาคมขนส่ง การรักษา ระบบนิเวศน์ จัดภูมิทัศน์เพื่อการท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ไม่มีการใช้น้ำคลองเพื่อการอุปโภค บริโภค มีลักษณะเฉพาะค่อนข้างแตกต่างจากแหล่งน้ำทั่วไป ดังนั้น จึงควรมีดัชนีคุณภาพน้ำที่ค่อนข้างเฉพาะ เหมาะสมกับลักษณะการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ โดยเป็นการทำดัชนีย่อยที่อ้างอิงจาก มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน ประเภท ๔ และ ๕ สำนักการระบายน้ำจึงได้จัดทำโครงการศึกษาความเหมาะสมเพื่อจัดทำดัชนีคุณภาพน้ำคลองของ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีค่าดัชนีคุณภาพน้ำที่เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ของแหล่งน้ำ และเพื่อให้ประชาชนทั่วไป เข้าใจง่ายขึ้น ทำให้เกิดความรักหวงแหนและร่วมกันอนุรักษ์แหล่งน้ำซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวต่อไป
11131010/11131010
เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเกณฑ์การวัดคุณภาพน้ำคลอง (ค่าดัชนีคุณภาพน้ำคลอง) ของกรุงเทพมหานครที่สามารถใช้เป็นค่าอ้างอิงคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำในชุมชนเมืองที่ประชาชนสามารถเข้าใจง่าย
กรุงเทพมหานครมีเกณฑ์การวัดคุณภาพน้ำคลอง (ค่าดัชนีคุณภาพน้ำคลอง) ที่เหมาะสมกับจุดประสงค์การใช้ประโยชน์ของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยการจ้างสถาบันการศึกษาที่มีความรู้และประสบการณ์ดำเนินการจัดทำดัชนีคุณภาพน้ำ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๒ กรุงเทพมหานครส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานคุณภาพสิ่% |
๒.๑.๒.๑ ส่งเสริมคุณภาพน้ำในกรุงเทพมหานครให้ได้รับการกำกับดูแล ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-09-28)
28/09/2566 : ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-08-31)
31/08/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-07-31)
31/07/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-06-28)
28/06/2566 : ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-05-29)
29/05/2566 : ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-04-28)
ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-28)
28/03/2566 : ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : ไม่ได้รับงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : สำรวจข้อมูล
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : สำรวจข้อมูล
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)
30/12/2565 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : (2566)ระบบข้อมูลการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมและระบบแจ้งเตือนวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ (สจน.)(เจรจาตกลง)
ค่าเป้าหมาย ฐานข้อมูล : 1
ผลงานที่ทำได้ ฐานข้อมูล : 1
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **