ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการจ้างเหมาเอกชนเดินระบบและซ่อมบำรุงเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศและระบบข้อมูลคุณภาพอากาศ (กจอ.) : 22000000-4221

สํานักสิ่งแวดล้อม : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร โดยการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ประมวลผล รวมถึงอ้างอิงข้อมูลผลตรวจวัดคุณภาพอากาศ ส่งผลให้การประมวลผลที่ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศมีความแม่นยำและถูกต้องยิ่งขึ้นก่อนเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวสู่สาธารณชนต่อไป โดยใช้ข้อมูลผลตรวจวัดคุณภาพอากาศ ข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา มาคำนวณทางคณิตศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนให้ประชาชนหลีกเลี่ยงในการเข้าไปในพื้นที่ที่ค่ามลพิษทางอากาศสูงที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งโครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศระยะแรกนั้นยังไม่ได้พัฒนาในส่วนของฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศเชิงพื้นที่และเวลาที่ใกล้เคียงปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ดังนั้น จึงมีแนวคิดในการจัดทำฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานคร โดยการประมาณการระบายสารมลพิษหลักจากแหล่งกำเนิดที่สำคัญต่าง ๆ เช่น การจราจร อุตสาหกรรม การเผาในที่โล่ง การก่อสร้าง เป็นต้น ซึ่งการคาดประมาณการระบายสารมลพิษทางอากาศจะใช้ข้อมูลกิจกรรมที่ใกล้เคียงกับสภาพเหตุการณ์จริงในการคำนวณการระบายสารมลพิษอากาศเชิงพื้นที่และเวลา ยกตัวอย่างเช่น การคาดประมาณการระบายสารมลพิษจากยานพาหนะโดยใช้ข้อมูลสภาพการจราจรแบบปัจจุบัน โดยการนำเทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) มาช่วยในการติดตามและแยกประเภทของยานพาหนะแบบรายชั่วโมงเพื่อใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษจากการจราจร ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลสำคัญส่วนหนึ่งที่จะนำไปใช้ในการจำลองคุณภาพอากาศโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ขั้นสูง รวมถึงการนำข้อมูลดาวเทียมจากเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลมาใช้ในการติดตามและตรวจสอบการเผาในที่โล่งในพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อจัดทำฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษและนำไปประยุกต์ใช้กับแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สามารถอธิบายกระบวนที่ซับซ้อนของบรรยากาศและคาดการณ์คุณภาพอากาศรายวันล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการพัฒนาฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศแบบใกล้เคียงปัจจุบันจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) จากการสำรวจและตรวจวัดจากแหล่งต่าง ๆ (Crossed-Multi-Platform) ที่จำเป็นต้องใช้การรวบรวมและประมวลผลขั้นสูง ทั้งนี้ ฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศนี้อาจจะครอบคลุมจังหวัดรอบนอกและประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ของสารมลพิษทางอากาศที่เข้ามาในกรุงเทพมหานคร โดยฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศจะได้รับการปรับปรุงข้อมูลรายวันและแสดงผลแบบเชิงพื้นที่และเวลา ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการรายงานสถานการณ์ปัญหามลพิษทางอากาศในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถนำข้อมูลคุณภาพอากาศไปช่วยในการตัดสินใจในการทำกิจกรรมนอกอาคารบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศต่อตนเอง ซึ่งเป็นการสร้างความตระหนักให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยกันลดมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครต่อไป

22040000/22040000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. เพื่อจ้างเหมาเดินระบบพร้อมบำรุงรักษาสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง (Real time) ตรวจสอบการทำงานของเครื่องมือ จอแสดงผล (Display board) และระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานครให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบสถานการณ์มลพิษทางอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒. เพื่อปรับปรุงห้องสำหรับใช้เป็นศูนย์บริหารจัดการข้อมูลคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษอากาศแบบใกล้เคียงปัจจุบันเพื่อใช้ในการติดตามและรายงานสถานการณ์มลพิษอากาศและสามารถนำไปใช้ในแบบจำลองคุณภาพอากาศ 4. เพื่อนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากำหนดมาตรการและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

เป้าหมายของโครงการ

​๑. การตรวจวัดและซ่อมบำรุงสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ๒. การปรับปรุงห้องสำหรับใช้เป็นศูนย์บริหารจัดการข้อมูลคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร ​๓. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร ๔. พัฒนาระบบรายงานดัชนีคุณภาพอากาศและข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานครสำหรับแจ้งเตือนและพยากรณ์ล่วงหน้า อย่างน้อย 3 วัน เพื่อให้ประชาชนทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติตนป้องสุขภาพบนแพลตฟอร์ม (๑) เว็บไซต์ ​​​ (๒) iOS Application ​(๓) Android Application

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)

100.00

29/09/2566 : 1. อยู่ระหว่างตรวจรับงาน 2. ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนสิงหาคม 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 4-30 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 37.5 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 12-68 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-84.0ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-3.3 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-3.0 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-63.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 0.7-45.5 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb) 3. ร้อยละของคุณภาพอากาศที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (พื้นที่ทั่วไป) เดือนตุลาคม 2565 – 10 กันยายน2566 จำนวน 36,062 ข้อมูล จากการตรวจวัด 36,945 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 97.61 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 2,847 ครั้ง จากการตรวจวัด 2,880 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 98.85 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 10,906 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,651 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 63.61 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 11,128 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,233 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 99.07 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 11,181 ครั้ง จากการตรวจวัด 11,181 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00 4. พัฒนาระบบข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร 4.1 งานจัดเก็บฐานข้อมูลแหล่งกำเนิด - ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ข้อมูลจราจร 100 จุด - IOT ข้อมูลมลพิษจากแหล่งก่อสร้าง 100 จุด - เชื่อมโยงข้อมูลจาก CEM ของโรงงานอุตสาหกรรม - ข้อมูลจุดความร้อน (Hot Spot) จากดาวเทียม - แหล่งกำเนิดอื่นๆ เช่น ภาคครัวเรือน สถานีบริการน้ำมัน ภาคขนส่ง เป็นต้น 4.2 งานพัฒนาระบบฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร - จัดทำฐานข้อมูลมลพิษทางอากาศแบบใกล้เคียงปัจจุบัน (Near Real-Time) - พัฒนาระบบแบบจำลองคุณภาพอากาศขั้นสูง (WRF-CHEM) - พัฒนาระบบแบบจำลอง HYSPLIT - ความก้าวหน้าของการจัดทำระบบเชื่อมโยงข้อมูลผลการจำลองคุณภาพอากาศจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบ web-based application -ความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบการติดตามคุณภาพอากาศโดยประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลจากดาวเทียม และ LiDAR 4.3 งานพัฒนาระบบรายงานดัชนีคุณภาพอากาศและข้อมูลสารมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร - เว็บไซต์ (AirBKK) - Mobile Application (Android และ IOS) 5. แจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในบรรยากาศได้ ล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจสอบข้อมูลคุณภาพอากาศ ผ่านทาง - แอปพลิเคชัน AirBKK - www.airbkk.com

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-08-24)

85.00

24/08/2566 : 1. เบิกเงินงวด 4 แล้วเสร็จ = 38,166,000.- บาท 2. ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนกรกฎาคม 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 4-33 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 37.5 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 11-75 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-82.1ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-7.8 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-7.5 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-94.3 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 0.0-66.4 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb) 3. ร้อยละของคุณภาพอากาศที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (พื้นที่ทั่วไป) เดือนกรกฎาคม 2566 จำนวน 2,787 ข้อมูล จากการตรวจวัด 2,787 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 248 ครั้ง จากการตรวจวัด 248 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 1,054 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,054 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 741 ครั้ง จากการตรวจวัด 741 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 744 ครั้ง จากการตรวจวัด 744 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00 4. พัฒนาระบบข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร 4.1 งานจัดเก็บฐานข้อมูลแหล่งกำเนิด - ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ข้อมูลจราจร 100 จุด - IOT ข้อมูลมลพิษจากแหล่งก่อสร้าง 100 จุด - เชื่อมโยงข้อมูลจาก CEM ของโรงงานอุตสาหกรรม - ข้อมูลจุดความร้อน (Hot Spot) จากดาวเทียม - แหล่งกำเนิดอื่นๆ เช่น ภาคครัวเรือน สถานีบริการน้ำมัน ภาคขนส่ง เป็นต้น 4.2 งานพัฒนาระบบฐานข้อมูลการระบายสารมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร - จัดทำฐานข้อมูลมลพิษทางอากาศแบบใกล้เคียงปัจจุบัน (Near Real-Time) - พัฒนาระบบแบบจำลองคุณภาพอากาศขั้นสูง (WRF-CHEM) - พัฒนาระบบแบบจำลอง HYSPLIT - ความก้าวหน้าของการจัดทำระบบเชื่อมโยงข้อมูลผลการจำลองคุณภาพอากาศจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบ web-based application -ความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบการติดตามคุณภาพอากาศโดยประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลจากดาวเทียม และ LiDAR 4.3 งานพัฒนาระบบรายงานดัชนีคุณภาพอากาศและข้อมูลสารมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร - เว็บไซต์ (AirBKK) - Mobile Application (Android และ IOS) 5. แจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในบรรยากาศได้ ล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจสอบข้อมูลคุณภาพอากาศ ผ่านทาง - แอปพลิเคชัน AirBKK - www.airbkk.com

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-07-24)

75.00

1. อยู่ระหว่างการเบิกเงินงวด 4 2. ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนมิถุนายน 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 4-37 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 37.5 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 15-78 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-93.9 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-5.7 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.2-5.3 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 1.0-102.6 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 2.0-67.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb) 3. ร้อยละของคุณภาพอากาศที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (พื้นที่ทั่วไป) เดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 3,374 ข้อมูล จากการตรวจวัด 3,374 ข้อมูล คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 243 ครั้ง จากการตรวจวัด 243 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 1,008 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,008 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ก๊าซโอโซน (O3) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) จำนวน 1,066 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,066ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.0 -ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) จำนวน 1,057 ครั้ง จากการตรวจวัด 1,057 ครั้ง คิดเป็นร้อยละของคุณภาพอากาศอยู่ในที่เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100.00 4. แจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในบรรยากาศได้ ล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตรวจสอบข้อมูลคุณภาพอากาศ ผ่านทาง - แอปพลิเคชัน AirBKK - www.airbkk.com

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-06-23)

65.00

23/06/2566 : อยู่ระหว่างการเบิกเงินงวด 4 ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนพฤษภาคม 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 7-48 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 23-100 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-119.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-20.0 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.1-6.4 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-121.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 1.9-82.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-26)

60.00

26/05/2566 : อยู่ระหว่างการตรวจรับงานงวด 4 ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนเมษายน 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 12-88 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 21-141 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-141.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.1-3.4 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.1-2.1 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-142 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 1.9-101.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-04-24)

55.00

24/04/2566 : เบิกเงินงวด 3 แล้วเสร็จ ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนมีนาคม 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 7-107 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 15-172 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-134.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-3.9 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-2.5 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 1.0-130.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 2.0-103.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-27)

50.00

27/03/2566 : เบิกเงินงวด 2 แล้วเสร็จ = 38,166,000.- บาท (เงินงบประมาณ 2565) 1. อยู่ระหว่างพัฒนาระบบฐานข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร 2.ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ดังนี้ - PM2.5 = 8-134 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 15-183 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-142 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-4.5 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.1-3.1 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-163.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 1.0-145.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-27)

30.00

27/02/2566 : อยู่ระหว่างเบิกเงินงวดที่ 2 และตรวจรับงานงวดที่ 3 เรียบร้อยแล้ว ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนมกราคม2566 ดังนี้ - PM2.5 = 11-88 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 21-150 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-158 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-3.0ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-2.0 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-165.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 1.0-124 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-31)

20.00

31-1-66 รายงานผลการตรวจรับฯ งวด 2 แล้วเสร็จ ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนธันวาคม 2565 ดังนี้ - PM2.5 = 6-76 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 17-106 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 0.0-158.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-3.0 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-2.0 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 0.0-165.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 2.0-110 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)

10.00

30/12/2565 : ผลการตรวจวัดจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ เดือนพฤศจิกายน 2565 ดังนี้ - PM2.5 = 8-62 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม) - PM10 = 20-113 (มคก./ลบ.ม) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม) - NO2 = 2.4-104.7 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 170 ppb) - CO 1 ชั่วโมง = 0.0-3.8 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 30 ppm) - CO 8 ชั่วโมง = 0.0-0.9 ppm (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 9 ppm) - O3 1 ชั่วโมง= 1.0-101.0 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ppb) - O3 8 ชั่วโมง= 3.6-79.7 ppb (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 70 ppb)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1.การตรวจวัดและซ่อมบำรุงสถานีตรวจวัภาพอากาศ
:30.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2.การปรับปรุงห้องสำหรับใช้เป็นศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร
:40.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร
:70.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4.พัฒนาระบบรายงานดัชนีคุณภาพอากาศและข้อมูลมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานครสำหรับแจ้งเตือนและพยากรณ์ล่วงหน้า อย่างน้อย 3 วัน เพื่อให้ประชาชนทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติตนป้องสุขภาพบนแพลตฟอร์ม ดังนี้ (1) เว็บไซต์ (2) iOS Application (3) Android Application
:100.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 22000000-4221

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 22000000-4221

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 2200-1061

ตัวชี้วัด : จำนวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานในช่วงวิกฤต

ค่าเป้าหมาย เพิ่มขึ้นร้อยละ : 5

ผลงานที่ทำได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ : 58.28

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เพิ่มขึ้นร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
61.11

0 / 0
3
58.28

100 / 100
4
58.28

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **