ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
สำนักงานสวนสาธารณะ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
เพื่อใช้ในการดำเนินการภายในอุทยานผีเสื้อ ได้แก่ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับผีเสื้อและแมลง เลี้ยงและเพาะพันธุ์ และบริหารจัดการสวนฯ
22060000/22060000
เพื่อบริหารจัดการสวนฯ เลี้ยงและเพาะพันธุ์ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับผีเสื้อและแมลง
บริหารจัดการสวนฯ เลี้ยงและเพาะพันธุ์ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับผีเสื้อและแมลง
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : 1.งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย 2. การผลิตพันธุ์ไม้ - ผลิตพันธุ์ไม้สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 2,000 ต้น - ผลิตพันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,500 ต้น 3. จัดหาและเลี้ยงผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,000 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ - จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมประจำเดือนกันยายน 7,558 คน - สถาบันการศึกษา จำนวน 15 แห่ง สรุปการดำเนินโครงการค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ 1. การจัดซื้อดักแด้ผีเสื้อดำเนินการแล้วเสร็จ เบิกจ่ายแล้ว 373,700.-บาท 2.การเบิกจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 ดำเนินการเบิกจ่ายแล้ว 332,600 บาท กันยายน 2566 อยู่ในระหว่างดำเนินการเบิกจ่าย 3.จัดซื้อพันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ เบิกจ่ายแล้ว 78,700.-บาท 4.การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงผีเสื้อและแมลง และวัสดุอุปกรณ์สำหรับดูแลบำรุงรักษาพันธุ์ไม้ เบิกจ่ายแล้ว 148,000.-บาท 5.การจัดซื้ออาหารผีเสื้อ (น้ำหวาน, น้ำผึ้ง) เบิกจ่ายแล้ว 9,000.-บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-31)
31/08/2566 : รายงานผลการดำเนินโครงการค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ประจำเดือนสิงหาคม 2566 1.งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย 2. การผลิตพันธุ์ไม้ - ผลิตพันธุ์ไม้สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 2,500 ต้น - ผลิตพันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,000 ต้น 3. จัดหาและเลี้ยงผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,500 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ - จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมประจำเดือนสิงหาคม 8,126 คน - สถาบันการศึกษา จำนวน 10 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-07-27)
27/07/2566 : งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-06-30)
30/06/2566 : งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-31)
31/05/2566 : งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-28)
28/04/2566 : งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-30)
30/03/2566 : 1.งานดูแลภูมิทัศน์ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและนอกกรงจัดแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย 2. การผลิตพันธุ์ไม้ - ผลิตพันธุ์ไม้สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 5,961 ต้น - ผลิตพันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 4,772 ต้น 3. จัดหาและเลี้ยงผีเสื้อกลางวัน จำนวน 4,961 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ - จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมประจำเดือนกุมภาพันธ์ 8,372 คน - สถาบันการศึกษา จำนวน 11แห่ง สรุปการดำเนินโครงการค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ 1. การจัดซื้อดักแด้ผีเสื้อดำเนินการแล้วเสร็จ เบิกจ่ายแล้ว 373,700.-บาท 2.การเบิกจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ตุลาคม 2565 – กุมภาพันธ์ 2566 ดำเนินการเบิกจ่ายแล้ว 101,680 บาท 3.จัดซื้อพันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-27)
26/2/2566 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 1,550 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 950 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 5,339 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 14,767 คน - สถาบันการศึกษา จำนวน 12 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)
30/12/2565 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : 16. พื้นที่สีเขียวและ/หรือพื้นที่ทางธรรมชาติที่ได้รับการส่งเสริม อนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษาและป้องกันการทำลายจนกลายเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ (แห่ง)
ค่าเป้าหมาย แห่ง : 1
ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 1
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **