ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
เขตพระนครเป็นเขตพื้นที่ชั้นในเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ซึ่งที่เรียกว่าเกาะรัตนโกสินทร์ เป็นที่ตั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และสถานที่ราชการที่สำคัญประกอบด้วย เช่น พระบรมมหาราชวัง วัด และโรงเรียนและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กระทรวงต่างๆ และมีความสำคัญในด้านเศรษฐกิจ การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม เป็นแหล่งรวมธุรกิจ รวมทั้งประชาชนในพื้นที่และนอกพื้นที่เขตพระนครทำกิจกรรมต่างๆ ล้วนส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่พบมากที่สุดในปัจจุบัน คือ มลพิษจากขยะมูลฝอย โดยกรุงเทพมหานครมีนโยบายบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจร ทั้งต้นทาง กลางทางและปลายทางอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสำนักงานเขตพระนครอยู่ในระบบการจัดการขยะต้นทาง มุ่งเน้นการกำจัดขยะจากแหล่งกำเนิด ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ด้วยวิธี 3R ลดการใช้ (Reduce) ใช้ทรัพยากรให้ดูมีค่า (Reuse) และนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และเพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัดที่ปลายทาง โดยมีการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบ การผลิตน้ำหมักชีวภาพและส่งเสริมมาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมพฤติกรรมการทิ้งและคัดแยกขยะ ส่งเสริมการนำขยะมาริไซเคิลหรือการแปรรูปเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
50010600/50010600
1. แปรรูปขยะอินทรีย์โดยวิธีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2. รณรงค์ส่งเสริมให้มีการแปรรูปขยะอินทรีย์ ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สถานประกอบการ และชุมชนในพื้นที่เขตพระนคร
1. การผลิตน้ำหมักชีวภาพ (การแปรรูปขยะอินทรีย์) ไม่น้อยกว่า 1,000 ขวดต่อเดือน 2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการนำหลัก 3R มาใช้ให้เกิดประโยชน์ และสาธิตการแปรรูปขยะอินทรีย์ในรูปขยะหอม (น้ำหมักชีวภาพ) ให้กับโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร สถานประกอบการ และชุมชนในพื้นที่เขตพระนคร ไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนกันยายน 2566 จำนวน 1,250 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-09-09)
09/09/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนสิงหาคม 2566 จำนวน 1,416 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-10)
10/08/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนกรกฎาคม 2566 จำนวน 1,280 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-07-19)
19/07/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 1,430 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-13)
13/06/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 1,381 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-11)
11/05/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนเมษายน 2566 จำนวน 1,244 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-12)
12/04/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนมีนาคม 2566 จำนวน 1,250 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-16)
16/03/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนกุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 1,072 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-11)
11/02/2566 : จัดทำน้ำหมักชีวภาพ บริเวณสวนสมเด็จพระปกเกล้าและอาคารฝ่ายรักษาฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ แจกตัวอย่างให้กับประชาชนที่สนใจ ขวดขนาด 500 ซีซี ในเดือนตุลาคม 2565 จำนวน 1,760 ขวด เดือนพฤศจิกายน 2565 จำนวน 1,520 ขวด เดือนธันวาคม 2565 จำนวน 1,431 ขวด เดือนมกราคม 2566 จำนวน 1,226 ขวด และเข้าประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สาธิตวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 11 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-01-12)
12/01/2566 : ผู้อำนวยการเขตอนุมัติโครงการฯ เรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-30)
30/12/2565 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จ ในการดำเนินการส่งเสริมการลดและ คัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **