ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) : 50060000-3686

สำนักงานเขตยานนาวา : (2566)

50

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 50

ฝ่ายปกครอง

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 41 ให้ผู้อำนวยการ จัดให้มีอาสาสมัครในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ให้ความช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ผู้อำนวยการมอบหมายและตามระเบียบ ที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด การบริหารและกำกับดูแลอาสาสมัคร การคัดเลือก การฝึกอบรม สิทธิ หน้าที่ และวินัยของอาสาสมัคร ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย โดยหน่วย อปพร. ที่จัดตั้งขึ้นจะได้นำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการป้องกันภัย บรรเทาภัย และลดความเสียหายอันเกิดจากสาธารณภัย ภัยธรรมชาติ ภัยจากการกระทำของข้าศึกฝ่ายตรงข้าม หรือภัยจากการก่อวินาศกรรม เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการป้องกันช่วยเหลือ สกัดกั้น และต่อต้านการแทรกซึม การบ่อนทำลายจากฝ่ายต่าง ๆ ทุกลักษณะ รวมถึงการพิทักษ์พื้นที่ และเพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างถูกต้องตามที่ได้รับมอบหมาย ตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ สามารถช่วยเหลือ ป้องกัน บรรเทาสาธารณภัยอันเกิดกับประชาชน และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องที่ได้ จึงได้จัดให้มีการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) ขึ้น

50060100/50060100

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบหลักการ วิธีการ และกลวิธีในการดำเนินการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย และสามารถนำความรู้ ความชำนาญไปใช้ได้อย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการป้องกัน ช่วยเหลือ สกัดกั้น และป้องกันการแทรกซึม การบ่อนทำลายจากภัยต่าง ๆ ได้ทุกลักษณะ 2.3 เพื่อให้สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) สามารถเป็นกำลังสนับสนุน ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติภารกิจในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2.4 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนกับหน่วยงานของรัฐ

เป้าหมายของโครงการ

ดำเนินการฝึกอบรมประชาชนในพื้นที่เขตยานนาวาทุกสาขาอาชีพ จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 10 คน รวมเป็น 60 คน ให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของหลักสูตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมทั้งการฝึกปฏิบัติแบบไป-กลับ จำนวน 5 วัน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-25)

50.00

25/04/2566 : เจ้าหน้าที่เทศกิจ เฝ้าระวังและตรวจตราความปลอดภัยของสภาพแวดล้อม ดูแลอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัย ที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม อุบัติเหตุ โดยมีการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นประจำทุกวัน อย่างต่อเนื่อง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มีปัญหาและอุปสรรค

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-28)

40.00

28/03/2561.เจ้าหน้าที่เทศกิจ ออกตรวจพื้นที่เพื่อป้องกันการเกิดอาชญากรรม ตรวจจุดเสี่ยงต่อการอาชญากรรมบริเวณที่มีการติดตั้งตูเขียวระวังภัยช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ตรวจสอบที่รกร้างว่างเปล่าหากพบที่รกร้างให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ดำเนินการล้อมรั้วเพื่อป้องกันการมั่วสุม 2.เจ้าหน้าที่เทศกิจเดินเท้าออกตรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้นำชุมชน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณ ป้ายรถโดยสารประจำทาง สะพานลอยคนเดินข้าม สถานที่ราชการ สถานศึกษา วัดและห้างสรรพสินค้า 3.ติดตั้งตู้เขียวระวังภัย จำนวน 5 แห่ง จุดที่ 1 บริเวณถนนเย็นอากาศ จุดที่ 2 บริเวณอุโมงค์ทางข้ามหน้าโรงเรียนนนทรีวิทยา ถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 3 บริเวณสวนหย่อมแยกถนนยานนาวาตัดถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 4 บริเวณทางเดินเลียบคลองตาเริกข้างธนาคารกรุงเทพ ถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 5 บริเวณท่ารถประจำทาง ถนนพระรามที่ 3 ซอย 47 6 :

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มีปัญหาและอุปสรรค

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-31)

10.00

31/01/2566 : 1.เจ้าหน้าที่เทศกิจ ออกตรวจพื้นที่เพื่อป้องกันการเกิดอาชญากรรม ตรวจจุดเสี่ยงต่อการอาชญากรรมบริเวณที่มีการติดตั้งตูเขียวระวังภัยช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ตรวจสอบที่รกร้างว่างเปล่าหากพบที่รกร้างให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ดำเนินการล้อมรั้วเพื่อป้องกันการมั่วสุม 2.เจ้าหน้าที่เทศกิจเดินเท้าออกตรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้นำชุมชน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณ ป้ายรถโดยสารประจำทาง สะพานลอยคนเดินข้าม สถานที่ราชการ สถานศึกษา วัดและห้างสรรพสินค้า 3.ติดตั้งตู้เขียวระวังภัย จำนวน 5 แห่ง จุดที่ 1 บริเวณถนนเย็นอากาศ จุดที่ 2 บริเวณอุโมงค์ทางข้ามหน้าโรงเรียนนนทรีวิทยา ถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 3 บริเวณสวนหย่อมแยกถนนยานนาวาตัดถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 4 บริเวณทางเดินเลียบคลองตาเริกข้างธนาคารกรุงเทพ ถนนพระรามที่ 3 จุดที่ 5 บริเวณท่ารถประจำทาง ถนนพระรามที่ 3 ซอย 47

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:เสนอโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2023-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
:70.00%
เริ่มต้น :2023-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-02-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:สรุปผลการดำเนินงาน
:20.00%
เริ่มต้น :2023-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50060000-3686

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50060000-3686

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5006-1000

ตัวชี้วัด : ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน

ค่าเป้าหมาย : 0

ผลงานที่ทำได้ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
()
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

0 / 0
2
40.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **