ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวเกณิกา หอมสมบัติ ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทำให้มีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามูลฝอยจากชุมชนที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ในปี 2562 ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณ 10,000 ตันต่อวัน ทำให้กรุงเทพมหานครต้องมีค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณมูลฝอยที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาองค์ประกอบมูลฝอยของกรุงเทพมหานครพบว่ามูลฝอยอินทรีย์มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 50 ซึ่งหากประชาชนสามารถลดและคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ที่แหล่งกำเนิด และนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การนำไปเลี้ยงสัตว์ การหมักทำปุ๋ย การผลิตน้ำหมักชีวภาพ น้ำยา-อเนกประสงค์หรือน้ำยาทำสบู่ช่วยลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ ส่งผลให้กรุงเทพมหานครเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยน้อยลง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดตามหลัก 3Rs รวมถึงส่งเสริมการลดและคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดให้บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดบูรณาการสำนักและสำนักงานเขต ดังนั้นสำนักงานเขตพญาไท โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูป มูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อรณรงค์ ส่งเสริม ให้ประชาชนมีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมศักยภาพการนำทรัพยากรกลับมาใช้ประโยชน์ ประหยัดงบประมาณการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร อีกทั้ง เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร
50080600/50080600
2.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ ณ แหล่งกำเนิด เช่น มูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2.2 เพื่อลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและกำจัด 2.3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกรุเทพมหานครและประชาชน
รณรงค์ ส่งเสริม และจัดกิจกรรมให้มีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ ด้วยการหมัก ทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์ หรือนำไปเป็นอาหารสัตว์ ให้ประชาชาชน ชุมชน และ สถานประกอบการในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-08-31)
31/08/2566 : ดำเนินการตามเป้าหมายเสร็จเรียบร้อย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-27)
27/06/2566 : รณรงค์ ส่งเสริม และจัดกิจกรรมให้ความรู้ การนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ ด้วยการหมัก ทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์ หรือนำไปเป็นอาหารสัตว์ ให้ประชาชาชน ชุมชน และ สถานประกอบการในพื้นที่
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-24)
24/05/2566 : รณรงค์ ส่งเสริม และจัดกิจกรรมให้มีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ ด้วยการหมัก ทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์ หรือนำไปเป็นอาหารสัตว์ ให้ประชาชาชน ชุมชน และ สถานประกอบการในพื้นที่
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-28)
จัดกิจกรรมแนะนำประชาชน ชุมชน และสถานประกอบการในพื้น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะ การหมักทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ สามารถนำมาใช้ประโยชน์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-31)
31/03/2566 : จัดกิจกรรมแนะนำประชาชน ชุมชน และสถานประกอบการในพื้น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะ การหมักทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ สามารถนำมาใช้ประโยชน์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-28)
28/02/2566 : เบิกจ่ายเงินเรียบร้อย และดำเนินกิจกรรมตามโครงการแล้ว จำนวน 6 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : ดำเนินการขออนุมัติเงินงวด เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ใช้ในการจัดกิจกรรมแนะนำประชาชน ชุมชน และสถานประกอบการในพื้น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะ การหมักทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ สามารถนำมาใช้ประโยชน์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมการลดและ คัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **