ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย : 50080000-7039

สำนักงานเขตพญาไท : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐาน ความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) มุ่งเน้นการป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกาย การส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน สำนักงานเขตพญาไทได้จัดทำโครงการ “กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย” เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ในการปฏิบัติงานเพื่อการจัดการสุขาภิบาลเมืองและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน สนับสนุนให้กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด และปลอดภัย ซึ่งจะส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น

50080400/50080400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๒.๑ เพื่อให้สถานประกอบการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ได้รับการพัฒนาด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้ได้มาตรฐาน มิให้ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญ มลพิษทางน้ำ อากาศ เสียง ฝุ่นละออง สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ฯลฯ ต่อสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ๒.๒ เพื่อให้ชุมชน สถานประกอบการ อาคารสาธารณะ ผู้ประกอบอาชีพ ผู้บริโภค ประชาชน มีสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย เหมาะสม ต่อการดำรงชีวิตและการมีคุณภาพชีวิตที่ดี

เป้าหมายของโครงการ

๓.๑ สถานประกอบการ ได้รับการตรวจสอบแนะนำด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ๓.๒ มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพญาไท ๓.๓ มีการดำเนินงานเพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-22)

100.00

22/09/2566 : ดำเนินการตามแผน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-08-29)

100.00

29/08/2566 : รายงานและสรุปผลให้สำนักอนามัย ตามหนังสือที่ กท 4704/3873 ลงวันที่ 29 ส.ค. 2566

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 92.00 (2023-08-23)

92.00

23/08/2566 : กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 8 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน 3. ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤต ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น 4. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (การตรวจตามคำสั่ง คสช. 22/2558) กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 5 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 79.00 (2023-07-25)

79.00

25/07/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 5 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 69.00 (2023-06-26)

69.00

26/06/2566 : กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 5 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 57.00 (2023-05-26)

57.00

26/05/2566 : กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 6 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 5 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-04-25)

48.00

25/04/2566 : กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 7 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 3 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :- ด้วยภารกิจหลายด้าน บางครั้งมีภารกิจด่วนจากผู้บริหาร จึงต้องปรับเปลี่ยนแผน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 38.00 (2023-03-22)

38.00

22/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอน กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ในเรื่อง ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 7 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 27.00 (2023-02-24)

27.00

24/02/2566 : กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 2 ครั้ง โดยออกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-01-26)

25.00

26/01/2566 : 1. ดำเนินการจัดทำโครงการ ขออนุมัติงบประมาณ ขออนุมัติเงินงวด จัดทำแผนปฏิบัติการ จัดทำคำสั่งให้เจ้าหน้าออกปฏิบัติงาน 2. กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 8 ครั้ง โดยออกปฏิบัติภารกิจ ในการตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน และการปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 3. กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 7 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. ขออนุมัติโครงการและรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. จัดทำแผนการดำเนินงาน
:20.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. ดำเนินงานตามแผน/ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
:50.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. รายงานผลการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. สรุปผลการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2023-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50080000-7039

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50080000-7039

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5008-833

ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการประจำพื้นฐาน

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
80.00

100 / 100
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **