ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวสายใจ โอกาศรัตน์ สำนักงานเขตบางเขน โทร.5876
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานคร ได้กำหนดทิศทางตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 3 (พ.ศ.2566-2570) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.5 เมืองสุขภาพดี เป้าประสงค์ที่ 1.5.11 ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อน ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 1.5.11.1 ส่งเสริมการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร และกลยุทธ์ที่ 1.5.11.2 ส่งเสริมการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร และสอดคล้องกับแผนพัฒนาสำนักอนามัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์สร้างความรู้ ความตระหนักในประเด็นเชิงสุขภาพ ตามสถานการณ์และบริบทมหานครให้กับประชาชนในวงกว้าง พร้อมยกเป็นประเด็นสุขภาพระดับมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการออกข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเพื่อควบคุม และกำหนดหลักสูตรอบรมด้านสุขลักษณะพื้นฐาน สำหรับผู้ค้าอาหาร กำหนดมาตรการในการตรวจสอบ แนะนำ การกำหนดหลักสูตรอบรม ด้านการสุขาภิบาลอาหาร ตลอดจนการมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ให้กับผู้ค้าที่ผ่านเกณฑ์ที่กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งพบว่าผู้ประกอบการร้านอาหารสามารถพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานเป็นจำนวนมาก แต่ก็ยังพบว่าผู้ประกอบการบางรายยังไม่ทราบกฎหมายและเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาปรับปรุงด้านสุขาภิบาลอาหาร ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในเรื่องอาหารปลอดภัยภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย บรรลุวัตถุประสงค์และดำเนินการไปสู่เป้าหมายเขตอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตบางเขน จึงถือเป็นนโยบายที่สำคัญที่จะคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีเป้าประสงค์ให้กับประชาชนกรุงเทพมหานคร มีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของอาหารที่รับประทาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคโดยดำเนินการตามภารกิจ 4 ประการ ได้แก่ การตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีในอาหารและน้ำ การจัดอบรมผู้ประกอบปรุง ผู้สัมผัสอาหาร และอาสาสมัครอาหารปลอดภัยการสร้างเครือข่ายอาหารปลอดภัย ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในเรื่องอาหารปลอดภัยภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย บรรลุวัตถุประสงค์ ดำเนินการไปสู่เป้าหมายเขตอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตบางเขนจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น
50120400/50120400
2.1 เพื่อให้สถานประกอบการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สามารถรับป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 2.2 เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุงและจำหน่ายอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 2.3 เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทางเลือกในการซื้ออาหารที่ปลอดภัยบริโภค 2.4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรทุกภาคส่วน เช่น ภาคเอกชน หน่วยงาน/สถาบันต่างๆ ในการดำเนินการตามโครงการฯ ในรูปแบบและโอกาสต่างๆ
3.1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 96 3.2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ ร้อยละ 98 3.3 ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 3.3.1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) ร้อยละ 100 3.3.2 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/GREEN SERVICE) ร้อยละ 20 3.3.3 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/GREEN SERVICE PLUS) ร้อยละ 10 3.4 ร้อยละของสถานประกอบอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 100
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-28)
28/09/2566 : 1.สรุปผลรายงานผู้บริหารทราบ ผ่านระบบสารสนเทศงนสุขาภิบาลอาหาร 2.ดำเนินการคืนเงินคงเหลือ จำนวน 10,000 บาทถ้วน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-25)
25/08/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 6 แห่ง 2.เบิกจ่ายค่าดำเนินกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย 20,000 บาท 3.เบิกจ่ายค่าตัวอย่างอาหาร จำนวน 12,000 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 8 แห่ง 2.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 7 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-24)
24/06/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 19 แห่ง 2.เบิกจ่ายค่าตัวอย่างอาหาร ประจำเดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 150 ตัวอย่าง เป็นเงิน 4,500 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-24)
24/05/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 28 แห่ง 2.เบิกจ่ายค่าตัวอย่างอาหาร ประจำเดือน พฤษภาคม 2566 จำนวน 150 ตัวอย่าง เป็นเงิน 4,500 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-25)
25/04/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในร้านสะสมอาหาร และจำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 35 แห่ง 2.เบิกจ่ายค่าตัวอย่างอาหาร ประจำเดือน เมษายน 2566 จำนวน 150 ตัวอย่าง เป็นเงิน 4,500 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-24)
1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในร้านสะสมอาหาร และจำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 21 แห่ง 2.เบิกจ่ายค่าตัวอย่างอาหาร ประจำเดือน มีนาคม 2566 จำนวน 150 ตัวอย่าง เป็นเงิน 4,500 บาท 3.เบิกจ่ายค่าค่าอาหารทำการนอกเวลา จำนวน 23 ครั้ง เป็นเงิน 23,000 บาท 4.เบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 19,800 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในร้านสะสมอาหาร และจำหน่ายอาหาร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 12 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะตลาด และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 15 แห่ง 2.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 6 แห่ง 3. ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารบริเวณโดยรอบโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยดรวจด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจสุขลักษณะ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีและชีววิทยา จำนวน 5 แห่ง 4. ดำเนินกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ผู้ประกอบการตลาด ดำเนินการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เพื่อเตรียมความพร้อมต้อนรับเทศกาลตรุษจีน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-01-17)
ผลการดำเนินการ ดังนี้ 1.เดือนตุลาคม 2565 วางแผนการดำเนินงาน 2.เดือนพฤศจิกายน 2565 ขออนุมัติโครงการและค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม 3. เดือนธันวาคม 2565 ดำเนินการผลการดำเนินการตามขั้นตอน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **