ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการจัดการขยะและน้ำเสียในชุมชน เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนกูบแดงร่วมใจพัฒนา : 50120000-4013

สำนักงานเขตบางเขน : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

สำนักงานเขตบางเขน

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

ชุมชนกูบแดงร่วมใจพัฒนา ได้จัดตั้งเป็นชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนประเภทอาคารสูง และมีบ้านแบบห้องแถว รวมจำนวน 325 ครัวเรือน เป็นบ้านพักสวัสดิการของ 3 หน่วยงาน คือ กองทัพน้อยที่ 1 กองทัพภาคที่ 1 กองร้อยปฏิบัติการจิตวิทยาที่ 1 อยู่ใกล้คลองลาดพร้าวระยะ 50 เมตร ปัจจุบันชุมชนประสบปัญหาบ่อดักไขมันในชุมชนมีสภาพเน่าเหม็นเนื่องจากมีไขมันในบ่อบำบัดมากและระบายน้ำเสียสู่ลงคลองลาดพร้าว ส่งผลให้เกิดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร นับเป็นปัญหาสำคัญที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนกูบแดงร่วมใจพัฒนา ซึ่งสาเหตุหลักของปัญหามูลฝอยและน้ำเสีย ได้แก่ ไขมันที่เกิดจากการซักล้าง การล้างภาชนะในการปรุงอาหารในครัวเรือน ประกอบกับมีร้านค้าในบริเวณชุมชนมากถึงจำนวน 16 ร้าน ที่ทิ้งไขมันลงสู่แหล่งน้ำโดยไม่ได้มีการจัดการอย่างถูกวิธี จนสะสมจำนวนมากในบ่อกำจัดไขมันของชุมชน ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย เช่น โรคท้องร่วง โรคทางเดินหายใจ โรคติดต่อต่างๆ ที่เกิดจากสัตว์และแมลงนำโรค เป็นต้น ซึ่งมีปริมาณมากเกินกว่าที่ธรรมชาติจะบำบัดน้ำให้ใสสะอาดดังเดิม และเกินศักยภาพในการบริหารจัดการมลพิษ ทั้งด้านงบประมาณ บุคลากร และองค์ความรู้ ระบบการกำจัดขยะและบำบัดน้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ จนอาจจะไม่พร้อมรับภาระที่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ ครัวเรือนซึ่งเป็นต้นเหตุและผู้รับผลกระทบต่อปัญหายังไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการปัญหาเท่าที่ควร ส่งผลให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสียกระทบต่อสภาพแวดล้อม น้ำในบ่อบำบัดน้ำเสียและคลองลาดพร้าวมีสีดำคล้ำส่งกลิ่นเหม็นเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค เพื่อป้องกันโรคที่มีสาเหตุมาจากขยะ และน้ำเน่าเสีย ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคครัวเรือนและชุมชน เพื่อให้การแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียในชุมชนและบริเวณโดยรอบชุมชน และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะและน้ำเน่าเสีย ไขมันที่ถูกเททิ้งจากครัวเรือนลงแหล่งน้ำโดยตรง ซึ่งชุมชนได้พิจารณาและได้รับคำแนะนำจากฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพเขตบางเขนแล้ว วิธีที่จะสามารถช่วยให้การจัดการไขมันจากครัวเรือนไม่ให้ไหลลงสู่คลองสาธารณะ ได้แก่ การติดตั้งถังดักไขมันที่เกิดจากการซักล้าง การล้างภาชนะใส่อาหารต่างๆ ไม่ให้ไหลลงสู่คลองหรือแหล่งน้ำสาธารณะ บ่อบำบัดน้ำเสีย และการจัดการขยะที่ถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการจัดการน้ำเสียของครัวเรือนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนกูบแดงร่วมใจพัฒนา และส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วมให้ในการแก้ปัญหาขยะ และน้ำเน่าเสียในชุมชน โดยการจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ กับประชาชนในชุมชน สาธิตและติดตั้งอุปกรณ์ดักไขมันในครัวเรือนลดการปล่อยของเสียลงแม่น้ำลำคลอง การปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนในการแยกขยะก่อนทิ้ง ทำให้ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ดังกล่าวมีสุขภาพ อนามัย และคุณภาพชีวิตที่ดี

50121000/50121000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อลดการทิ้งไขมันจากบ้านเรือนในชุมชนสู่แหล่งน้ำ และแกนนำครัวเรือนมีความรู้ในการป้องกันโรคอันมีสาเหตุจากปัญหาขยะและน้ำเน่าเสีย 2.2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอย การบำบัดน้ำเสีย และสาธิตการจัดการ ขยะและน้ำเสียในครัวเรือน ลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันมีสาเหตุมาจากขยะ และน้ำเน่าเสีย

เป้าหมายของโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 325 ครัวเรือน ได้แก่ แกนนำครัวเรือนที่ต้องการติดตั้งถักดักไขมัน ชุมชนกูบแดงร่วมใจพัฒนา จำนวน 325 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-07-25)

100.00

25/07/2566 : ติดตั้งถังดักไขมันจำนวน 100 ถัง รวมเป็น 200 ถัง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-24)

70.00

24/06/2566 : ดำเนินการติดตั้งถังดักไขมัน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 52.00 (2023-05-25)

52.00

25/05/2566 :อยู่ระหว่างดำเนินการให้ความรู้และติดตั้งถังดักไขมันในชุมชนเป้าหมาย ติดตั้งเพิ่มเติมจำนวน 10 ครัวเรือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-24)

50.00

24/04/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการให้ความรู้และติดตั้งถังดักไขมันในชุมชนเป้าหมาย ติดตั้งไปแล้ว 30 ครัวเรือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-24)

40.00

24/03/2566 : ได้รับอนุมัติงบประมาณสำหรับดำเนินโครงการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อถังดักไขมัน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-02-24)

15.00

24/02/2566 : ได้รับอนุมัติโครงการแล้ว / ทำสัญญาการดำเนินโครงการ รองบประมาณจากสำนักงาน สปสช.กทม. โอนให้เขตดำเนินงานตามโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:สำรวจครัวเรือนที่ต้องการติดตั้งถักดักไขมัน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:สำรวจวัสดุเพื่อจัดทำและติดตั้งถักดักไขมัน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติงบประมาณ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ประสานสำนักงานเขตบางเขนเพื่อให้ความรู้และวิธีการติดตั้งถังดักไขมัน
:20.00%
เริ่มต้น :2023-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-02-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:ดำเนินการตามโครงการ (อบรมให้ความรู้ จัดซื้อวัสดุ ติดตั้งถังดักไขมัน)
:40.00%
เริ่มต้น :2023-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการ วัดความรู้ก่อนและหลังอบรมประเมินจำนวนหลังคาเรือนที่มีถังดักไขมัน
:10.00%
เริ่มต้น :2023-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50120000-4013

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50120000-4013

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5012-6519

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

95 / 0
2
30.00

100 / 50
3
60.00

100 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **