ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ห้องน้ำในพื้นที่สาธารณะและสถานีขนส่งสาธารณะเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการใช้งานของประชาชน โดยหากดูจากกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (กฎกระทรวงฉบับที่ 39 ปี 2537 [1] และ 63 ปี 2551 [2] ที่ออกตาม พรบ.ควบคุมอาคาร และข้อบัญญักรุงเทพมหานครเรื่องควบคุมอาคาร ปี 2544 [3]) จะพบว่า มีการกำหนดจำนวนห้องน้ำต่อพื้นที่ไว้สำหรับอาคารประเภทต่าง ๆ เช่น อาคารสถานีขนส่งมวลชนต้องมีห้องส้วมชาย 2 ห้อง หญิง 5 ห้อง และที่ปัสสาวะชาย 4 ที่ต่ออาคาร 200 ตร.ม. สถานกีฬาต้องมีห้องส้วมชาย 1 ห้อง หญิง 2 ห้อง และที่ปัสสาวะชาย 2 ที่ต่ออาคาร 200 ตร.ม. หรือ 100 คน ซึ่งแม้ว่าจะมีกฎหมายจะระบุให้มีห้องน้ำขั้นต่ำไว้แต่บางครั้งก็ยังไม่เพียงพอ เช่น ไม่มีการกำหนดให้ต้องมีการสร้างห้องอาบน้ำในสถานกีฬา นอกจากนี้การเข้าถึงห้องน้ำที่สร้างไว้ก็เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับประชาชน เช่น ต้องขอให้พนักงาน สถานีรถไฟฟ้า (โดยเฉพาะในส่วนสัมปทานหลัก) เปิดห้องน้ำให้หากมีความต้องการใช้
50130400/50130400
ห้องน้ำสาธารณะที่มีคุณภาพ ครอบคลุมการใช้งาน เข้าถึงง่าย
ห้องน้ำสาธารณะ (สวนสาธารณะ วัด ห้างสรรพสินค้า สถานีบริการน้ำมัน)
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-22)
22/09/2566 : ตรวจสอบ แนะนำห้องน้ำสาธารณะให้สะอาด ได้มาตรฐาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-25)
25/08/2566 : ตรวจแนะนำห้องน้ำสาธารณะให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสะอาด 2 ครั้ง/เดือน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : ตรวจแนะนำห้องน้ำสาธารณะให้เป็นไปตามมาตรฐาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : ตรวจแนะนำห้องน้ำสาธารณะในกลุ่มเป้าหมาย ให้สะอาด ได้มาตรฐาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-24)
24/05/2566 : ตรวจสอบแนะนำห้องน้ำสาธารณะในสถานีบริการน้ำมัน ห้างสรรพสินค้า ตลาดสด ร้านอาหาร สวนสาธารณะ ศาสนสถาน ให้มีการดูแลอย่างเหมาะสม สะอาด ได้มาตรฐาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-25)
25/04/2566 : ตรวจแนะนำห้องน้ำสาธารณะ 1. สถานีบริการน้ำมัน 2. ห้างสรรพสินค้า 3. สวนสาธารณะ 4. ตลาดสด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-27)
27/03/2566 : 1. ตรวจแนะนำห้องน้ำสาธารณะตามกลุ่มเป้าหมาย 2 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 0.00 (2023-02-27)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : 1. สำรวจห้องน้ำสาธารณะในกลุ่มเป้าหมาย สวนสาธารณะ วัด 6 แห่ง ห้างสรรพสินค้า 7 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **